Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไหน , then หน, ไหน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไหน, 240 found, display 1-50
  1. ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ; ๒. นป. หัว, ผม; น้ำ; ๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
  2. กตฺถ กตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ตฺถ, ตฺร ปัจ. แปลง กึ เป็น ก.
  3. กตฺถจิ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในที่ ไหน, ในที่แห่งไร.
  4. กตม : ค. อันไหน, คนไหน, สิ่งไหน
  5. กตม กตร : (วิ.) ไหน, คนไหน, เป็นไฉน, อะไร. ส. กตม กตร.
  6. กตมกุล : (นปุ.) ตระกูลไหน.
  7. กตมนิกาย กตรนิกาย : (ปุ.) พวกไหน, นิกายไหน.
  8. กตรธีตุ กตฺรธีตุ : (อิต.) ธิดาคนไหน, ธิดา คนไร.
  9. กทา : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในกาลไร, เมื่อใด, เมื่อไร, วิ. กสฺมึ กาเล กทา. กึ ศัพท์ ทา ปัจ. ส. กทา.
  10. กทา จิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, บางคราว, ดอกกระมัง.
  11. กรตโร : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, แต่...อะไร.
  12. กรหจิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน ๆ, บางครั้ง. ส. กรหิจิตฺ.
  13. กฺว : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ว ปัจ. ลบ อึ. ส. กฺว.
  14. กห : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในที่ ไหน, ณ ที่ไหน. ส. กรฺหิ.
  15. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  16. กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
  17. กึปุริส : ป. คนอะไร, คนเผ่าไหน; คนป่า; กินนร
  18. กุตฺถ กุตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. วิ. กสฺมึ ฐาเน กุตฺถ กุตฺร กึ ศัพท์ ตฺถ ตฺร ปัจ. ส. กุตฺร.
  19. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  20. กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
  21. กุห กุหึ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ใน ที่ไหน, ในที่ไหนๆ. (สำหรับประโยคที่ เนื้อความเป็ยพหุ.)
  22. กุหิญฺจน : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในบางครั้ง
  23. โก : (อัพ. นิบาต.) ใน...ไหน, ในที่ไหน. ที่อยู่ใน ประโยคคำถามแปลว่า ทำไม. เวสฯ ๖๒๑.
  24. ยตฺถ, ยตฺร : อ. ที่ไหน, ที่ใด; เวลาไหน, เมื่อไร
  25. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  26. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  27. คทฺทุ (ทู) หน : นป. การรีดนม
  28. อาโรหณ, - หน : นป. การขึ้น, การปีน
  29. หนติ : ก. ฆ่า
  30. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  31. ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
  32. พาหน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
  33. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  34. หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
  35. อพฺพูฬฺหน : นป. ดู อพฺพาหน
  36. อุทการ อุทลาหน อุทหาร : (ปุ.) เมฆ. อุท+กรฺ+ณ ปัจ., อุท+อาหน ลฺ อาคม, อุท+หรฺ + ณ ปัจ.
  37. อุปาหน : (ปุ. นปุ.) เกือก, รองเท้า. วิ. ตํ ตํ ฐานํ  อุปหนฺติ เอเตนาติ อุปาหโน. ตโต ตโต จ อุปหนฺติ เอเตนาติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อุปนยฺหเตติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อ. ทีฆะและเปลี่ยนอักษร.
  38. กฏฐวาหน : นป. พาหนะไม้ ; ชื่อเมืองเมืองหนึ่ง
  39. กมฺมายูหน : นป. กองแห่งกรรม
  40. กลหน : (นปุ.) วจนะเป็นที่โต้เถียง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  41. กุมฺภทูหน : นป. การรีดนมด้วยหม้อ, การรีดนมลงในภาชนะ
  42. กุห กุหณ กุหน : (วิ.) หลอก, หลอกลวง, โกง. กุหฺ วิมฺหาปเน, อ, ยุ.
  43. กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
  44. คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
  45. ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  46. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  47. คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
  48. คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ
  49. คูหน : นป., คูหนา อิต. การซ่อน, การกำบัง, การปกปิด
  50. จกฺขุโมหน : นป. การเล่นกล
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-240

(0.0709 sec)