Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไหร่ , then หร, ไหร่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไหร่, 31 found, display 1-31
  1. หร : (วิ.) จับ, ถือ, ยึด, จับเอา, ถือเอา, ยึดเอา, ยึดไว้. หรฺ อาทาเน, อ. นำ, นำไป, นำออก. หรฺ อปนยเน นยเน วา, อ. ส. หร.
  2. หริ : (ปุ.) พระนารายณ์, พระวิษณุ. วิ. มจฺจานํ ชีวิตํ หรติ สีเลนาติ หริ. หรฺ นยเน, อิ. ส. หริ.
  3. ปาณหร : ค. ดู ปาณฆาตี
  4. หเร : (อัพ. นิบาต) เฮ้ย, แน่ะคนร้าย.
  5. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  6. หีร, - รก : นป. เสี้ยน, สะเก็ด, ริ้ว
  7. หุร : (นปุ.) โลกอื่น, ภพอื่น.
  8. โหร : (ปุ.) บุคคลผู้รู้วิชาโหร, บุคคลผู้พยากรณ์ตามวิชาโหร.
  9. กุฏจาริกา กุฏธาริกา กุฏหริกา : (อิต.) หญิง รับใช้, หญิงคนใช้, ทาสี. วิ. กุเฏน จรตีติ กุฏจาริกา. กุฏํ ธาเรตีติ กุฏธาริกา. กุฏํ หรตีติ กุฏหริกา.
  10. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  11. สมฺปหาร : (ปุ.) การรบกัน, การสู้รบกัน, การต่อสู้กัน, การทำยุทธ์กัน, สนามรบ, สงคราม, สัมหหาร. สํ ป ปุพฺโพ, หรฺ ปสยฺหกรเณ, โณ.
  12. สมาหาร : (ปุ.) การนำมารวม, การนำมารวมกัน, การรวบรวม. สํ อา ปุพฺโพ, หรฺ หรณ, โณ.
  13. หทย : (นปุ.) ใจ, หัวใจ. วิ. หรติ อตฺตโน อา ธารนฺติ หทยํ. หรฺ หรเณ, โย, รสฺส โท. หทฺ จินฺตายํ วา, อโย. น้ำใจ ก็แปล. ส. หฺฤทย.
  14. หมฺมิย : (นปุ.) เรือนโล้น, ปราสาทโล้น. หรฺ หรเณ, โย, ยมฺหิ มิอาคโม, รสฺส โม. โบราณแปลว่าบ้านเศรษฐี. ทิมแถว(เรือนหลังคาตัด) ทิมคต ก็ว่า.
  15. หริณ : (ปุ.) เนื้อ, กวาง. วิ. หรียตีติ หริโณ. หรฺ นยเน, ยุ, อสฺสิ. จามจุรี ก็แปล.
  16. หริตาล : (นปุ.) สีเหลือง, หรตาล ชื่อแร่ชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุสารหนูและกำมะถันใช้สำหรับเขียนลายรดน้ำและสมุดดำ. ส. หริตาล.
  17. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  18. หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
  19. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  20. หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
  21. เหติ : (อิต.) ศัตรา, อาวุธ, ศัตราวุธ, เครื่องรบ, ขอ, หอก, หลาว. วิ. หรติ ชีวิตนฺติ เหตุ. หรฺ หรเณ, ติ, อสฺเส, รฺโลโป.
  22. อชฺโฌหฏ : (ไตรลิงค์) การกิน, การกลืนกิน.อธิ อว ปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โต, ตสฺส โฎ, รฺโลโป.
  23. อภิหาร : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การเคราพ, การบูชาการเคราพบูชา.ความเคราพ, ฯลฯ, ความนับถือ.อภิปุพฺโพ, หรฺ อปนยเน, โณ.
  24. อาหจฺจ : (ปุ.) การจรด (เอาของมาชนกัน), การชน, การชนกัน. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โจ, จสฺส จฺโจ, รฺโลโป. หรือลง ริจฺจ ปัจ. ลบ รฺ และ ริ.
  25. อาหร : (ปุ.) อาหรณ (นปุ.) การนำมา, การถือ เอา. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, อ ยุ. ส. อาหร.
  26. อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
  27. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  28. อุทฺธาร : (ปุ.) การยกขึ้น, การเดาะ (เกี่ยวกับ กฐิน), การให้ยืม, เงินค้าง, หนี้. อุปุพฺโพ, ธรฺ คหเณ, โณ. หรฺ หรเณ วา, หสฺส โธ. ส. อุทฺธาร. อุทฺธุมายิ
  29. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  30. อุทาหรณ : (นปุ.) การอ้างอิง, การยกขึ้นให้ เห็น, การยกขึ้นมา, การนำขึ้นมา, ตัวอย่าง. วิ. อุทาหรียเต ปกตสฺโสปปาทนายาติ อุทาหรณํ. อุ อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ, ทฺอาคโม. ส. อุทาหรณ.
  31. อุปหาร : (ปุ.) การนำไปใกล้, การเคารพ, การนับถือ, การบูชา, เครื่องบูชา, อภิหาร (การนำไปเฉพาะคือการบูชา). อุปปุพฺโพ, หรฺ หรเณ ปูชายญฺจ, โณ. ส. อุปหาร.
  32. [1-31]

(0.0074 sec)