กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
ขุภติ : ก. กำเริบ, กระเพื่อม, ไหว, สั่น, สะเทือน
จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
ตรล : (วิ.) กลิ้ง, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, หมุนรอบตัว, ลอยไป, ปลิวไป. ตรฺ สมฺภมปฺลวเนสุ, อโล.
ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
ปริปฺลว : ค. สั่น, เอียง, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว, สั่น, โยก, เรรวน, เลื่อนลอย
ปริปฺลวติ : ก. สั่น, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว
ปเวลฺลติ : ก. หมุน, แกว่ง; เขย่า, ไหว, เคลื่อน
พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
โลล : ค. กลิ้ง, โคลง, ไหว; ผู้โลภ
โลเลติ : ก. โคลง, ไหว
อีริต : (วิ.) ขว้าง. ซัด, โยน, พรุ่ง, ยิง, ไหว, เคลื่อนไหว, สั่น. อีรฺ คติกมฺปนเขเปสุ อิโต, โต วา.
หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
ภูมิจาล : (ปุ.) การไหวแผ่นดิน, การสั่นแห่งดิน, แผ่นดิน ไหว.
กมฺปก : ค. ผู้หวั่นไหว, ผู้ทำให้หวั่นไหว
กมฺปติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, กระเพื่อม
กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
กมฺปนาการปตฺต กมฺปนาการปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึง แล้วซึ่งอาการคือความหวั่นไหว.
กมฺปิต : กิต. ไหวแล้ว, กระเพื่อมแล้ว
กมฺปิย : ค. น่าหวั่นไหว, มีความสะเทือน
กมฺเปติ : ก. ทำให้หวั่นไหว, ทำให้สะเทือน
กายจลน : (นปุ.) การยังกายให้ไหว, การกระดิกกาย, การไหวกาย.
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
กายปจารก, - ยปฺปจารก : นป. การยังกายให้ไหว, การคะนองกาย
กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
กุปิต : ค. ผู้โกรธแล้ว, ผู้ขัดเคืองแล้ว; หวั่นไหวแล้ว, กำเริบแล้ว
กุลจล : (ปุ.) กุลาจละ ชื่อภูเขามีรากไม่หวั่นไหว มี ๘ ลูก มีเขาสุเมรุ เป็นต้น.
กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
ขลน : (นปุ.) การไหว, ความไหว, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, ยุ.
โขเภติ : ก. สะดุ้ง, กระเพื่อม, หวั่นไหว, ไม่สงบ
เคป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
ฆฏฺฏน : (นปุ.) การไหว, การสั่น, การรัว, การบุ, การเคาะ, การแคะ, การงัด, การกระทบ. ฆฏฺ ฆฏิ วา จลนฆฏฺฏเนสุ, ยุ.
จปลตา : อิต. ความกวัดแกว่ง, ความหวั่นไหว
จล : ค. หวั่นไหว, โคลงเคลง, ยุ่งยาก
จล จลน : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, เคลื่อน, เคลื่อน ไหว, สั่น, รัว, กระดิก, โยก, โยกโคลง, โคลง, กลับกลอก. จลฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
จลจิตฺต : ค. ผู้มีจิตหวั่นไหว, ผู้มีจิตไม่มั่นคง
จลติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, สั่น, คลอนแคลน, กระเพื่อม, พลิ้ว, สะบัด
จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
จลาจล : (วิ.) หวั่นไหว, วุ่นวาย, ปั่นป่วน.
จลิต : ค., นป. ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งสั่น, ซึ่งคลอนแคลน, การเคลื่อนไหว, การหวั่นไหว
จาล : (ปุ.) การไหว, ฯลฯ, ความไหว, ฯลฯ จลฺ กมฺปเน, โณ.
จาลน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, ฯลฯ
จาเลติ : ก. ทำให้ไหว, ทำให้เคลื่อนไหว, ให้หวั่นไหว, ร่อน
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.