ทิยฑฺฒ : ไตร. ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, ๑ ๑/๒
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกปฺผล : ๑. นป. ผลของพืชที่มีกลิ่นหอมชนิดหนึ่ง;
๒. ค. มีผลเผ็ดร้อน
กฐิน : ๑. นป. ไม้สะดึง ; ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาเพื่อทำจีวร;
๒. ค. กระด้าง, แข็งทื่อ, เคร่งตึง
กณฺฑี : ๑. ป. นายขมังธนู ;
๒. ค. มีลูกศรเสียบเข้าไป
กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ;
๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
กณิการ : ๑. ป. ไม้กรรณิการ์;
๒. นป. ดอกกรรณิการ์
กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ;
๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
กตฺตพฺพ, -ก : ๑. นป. สิ่งที่ควรทำ, หน้าที่การงาน, ข้อผูกพัน;
๒. ค. พึงทำ, ควรทำ
กตูปการ : ๑. ป. อุปการะที่ทำแก่คนอื่น;
๒. ค. ผู้มีอุปการะอันกระทำแล้ว
กทร : ๑. ป. ไม้พะยอมขาว, กฤษณา; เลื่อย;
๒. ค. ระทมทุกข์, เศร้าใจ
กโปต, - ตก : ๑. ป. นกพิราบ;
๒. นป. แร่พลวง
กมฺโพชก : ๑. ป. ชื่อของชนบทแห่งหนึ่ง;
๒. ค. ชาวกัมโพช
กมฺมปจฺจย : ๑. ป. กรรมปัจจัย, ปัจจัยของกรรม ;
๒. มีกรรมเป็นเครื่องสนับสนุน
กรติ : ๑. ก. ตัด, ทำอันตราย, ทำร้าย
๒. อิต. ถั่วชนิดหนึ่ง, ถั่วราชมาส
กโรฏิ : ๑. อิต. จาน, ภาชนะ, กะโหลกศีรษะ, หมวกเกราะ
๒. ป. ครุฑ
กากวณฺณ : ๑. ป. พระนามของกษัตริย์พระองค์หนึ่งในลังกา;
๒. ค. มีสีเหมือนกา, มีผิวพรรณดำ
กากสีส : ๑. นป. หัวของกา, ศีรษะของกา;
๒. ค. (สัตว์นรกขุมหนึ่ง) มีหัวเหมือนหัวกา
กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
กาตพฺพ : ๑. นป. ธุระ, หน้าที่, งานที่ควรทำ;
๒. ค. สิ่งที่ควรกระทำ
กาสาย, กาสาว : ๑. นป. ผ้าที่ย้อมน้ำฝาด; จีวร;
๒. ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาด, ซึ่งย้อมสีเหลือง
กิลิ : ๑. อ. “ดังกิลิๆ” ,
๒. อิต. เสียงที่ดัง ‘กิลิๆ’
กิลิฏฐ : ๑. ไตร. ถ้อยคำที่ไม่สมต้นสมปลาย;
๒. กิต. เศร้าหมอง, ไม่สะอาด
กีฬนก : ๑. นป. เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค. ผู้เล่น
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
กีฬิต :
๑. นป. ดู กีฬา๒. กิต. อันเขาเล่นแล้ว, อันเขารื่นเริงแล้ว
กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ;
๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
กุฏฏ : ๑. ป. แป้ง, ผง;
๒. ค. บีบ, คั้น
กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ;
๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
กุลฺลก : ๑. ป. กระชุ, เครื่องสาน; แพชนิดหนึ่ง; กระด้งเล็กๆ;
๒. ค. ผู้ได้รับเลี้ยงดูอย่างดี
โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง;
๒. นป. ต้นโกฐ;
๓. ป. นกเปล้า
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
ขชฺช : ๑. นป. อาหารแข็ง, ของเคี้ยว;
๒. ค. ของควรเคี้ยว
ขฬ : ๑. ป. คนพาล, คนชั่ว, คนกักขฬะ;
๒. ค. หยาบคาย, ดุร้าย, แข็ง, กักขฬะ
ขายิต : ๑. นป. ของที่กินแล้ว;
๒. ค. กินแล้ว
ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ;
๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
ขิปีต : ๑. นป. การจาม, การแสดงการดูถูกโดยวิธีย่นจมูก;
๒. กิต. ขว้างไปแล้ว
ขุทฺท, ขุทฺทก : ๑. ป., นป. ง้วนผึ้ง, น้ำผึ้ง, ผึ้งตัวเล็ก, ผึ้งหวี่, แมลงวัน;
๒. ค. น้อย, เล็ก, ต่ำ, ยากไร้, ไม่สำคัญ
คณฺฑี : ๑. อิต. ระฆัง;
๒. ค. มีฝี, เป็นฝี
คณิต : ๑. นป. คณิต, คำนวณ;
๒. กิต. คำนวณแล้ว, นับแล้ว
คนฺธารมฺมณ : ๑. นป. คันธารมณ์, อารมณ์คือกลิ่น, ความติดในกลิ่น
๒. ค. มีกลิ่น
คหน : ๑. นป. ดง, ป่าทึบ, ป่าชัฏ;
๒. ค. ทึบ, หนา, ลึก, รกชัฏ
คหิต : ๑. นป. การยึด, การถือ, การจับ;
๒. ค. ซึ่งถือแล้ว, ซึ่งยึดแล้ว
คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
คุฬิก : ๑. นป. หมู่, ก้อน; กลุ่ม; ห่วง, โซ่;
๒. ค. มีโซ่, มีห่วง
ฆนตม : ๑. ป. ความมืดทึบ;
๒. ค. มืดทึบ, มืดมาก
จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ;
๒. ป. คุก, เรือนจำ