สมควร : ปฏิรูป, อนุจฺฉวิก, อนุปุพฺพ, ปฏิรูโป, อนุจฺฉวิโก, อนุปุพฺพโก
เห็น : ทิฏฺฐฺ, ทสฺสนํ, ปสฺสนํ, ปสฺสติ, อเวกฺขติ, ทิสฺสติ [อิ.]
สมควรเหมาะสม : ธมฺมานุธมฺม-
เห็นด้วย, ถูกต้อง : สเมติ
เห็นปัจจัย ๔ : ปจฺจเวกฺขนฺโต
เห็นแล้ว : อทฺทกฺขิ
เห็นสังขาร : สมฺมสนฺโต
เห็นเอง : สามํ วิปสฺสยํ
การเห็น : ทสฺสนํ
กินจุ, เห็นแก่กิน : โอทริก, โอทริย [ค.]
ความคิดเห็น : ทสฺสนํ
ความเห็นแตกต่าง : นานาทิฏฺฐิ
ปฏิบัติให้สมควรเหมาะสม : ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ
ผู้เห็นผิด : มิจฺฉาทิฏฺฐิโก, มิจฺฉาปฏิปนฺโน
พิจารณาเห็น : สมฺปสฺสมาโน
เพื่อนเห็น : ทิฏฺฐมตฺตโก, สนฺทิฏฺโฐ
มองเห็น : ทิสฺวา, ปสฺสิตฺวา
มักเห็นภัย : ภยทสฺสาวี
สิ่งที่ได้รู้เห็น : ทิฏฺฐํ สุตํ มุตํ
แสดงให้เห็นว่า.. : อตฺถปริทีปนา
กระทบ, จู่โจม : อพฺภาหนติ [ก.]
คาง : หนุ, หนุกํ [ถี.]
ต่ำช้า : หีน, นิหีน, ลามก, โอมก, อิตฺตร
ปลอกหมอน : พิมฺโพหนจิมิลิกา
ละ : หีน, ปหีน, ปชหิตฺวา, ปหาย
สัตว์พาหนะ : วาหนปสุ [ปุ.]