Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ระ , then , ระ, รา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ระ, 1697 found, display 451-500
  1. ระลอง, ชระล่อง : [ชฺระ] น. ทางล่อง, ซอกเขา, ลําธาร, เช่น ผู้ชระลองล่วงห้วง มหรรณพ. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์).
  2. ระลั่ง : [ชฺระ] (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง เช่น จงสองเจ้าอย่าได้ ทะลิ่นชระลั่งคอยนั่งเฝ้าพระบาท. (ม. คําหลวง กุมาร).
  3. ระลัด : [ชฺระ] (กลอน) น. ทางลัดไปได้.
  4. ระล้ำ : [ชฺระ] (กลอน) ก. ลํ้า. (ดุษฎีสังเวย).
  5. ระลุ : [ชฺระ] (กลอน) ก. ปรุ, สลัก, ฉลุ.
  6. ระแลง : [ชฺระ] (กลอน) น. ชะแลง.
  7. ระอับ : [ชฺระ] (กลอน) ว. อับ, มืดมัว, มืดคลุ้ม.
  8. ระอาบ : [ชฺระ] (กลอน) ก. อาบ, ชโลม, ทา, ทําให้ซึมซาบ.
  9. ระเอม : [ชฺระ] (กลอน) ว. ร่มเย็น เช่น ดั่งฤๅดั่งไทรชระเอมชรอื้อ. (ม. คําหลวง ชูชก).
  10. ชลประทาน : [ชนละ, ชน] น. การทดนํ้าและระบายนํ้า เพื่อการเพาะปลูกเป็นต้น.
  11. ชะ ๑ : ก. ทําให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไปหรือหมดไปด้วยนํ้า ในลักษณะ และ อาการอย่างชะแผล; ชําระล้างด้วยอาการคล้ายคลึง เช่นนั้น เช่น ฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วง.
  12. ชาคระ : [ชาคะระ] (แบบ) น. ความเพียร, ความตื่นอยู่. (ป., ส.).
  13. ชาคริยานุโยค : [ชาคะริยานุโยก] น. การประกอบความเพียรเพื่อจะชําระใจ ให้หมดจดไม่เห็นแก่นอนมากนัก. (ป.; ส. ชาครฺยา + อนุโยค).
  14. ชาดหรคุณ : [ชาดหอระ] น. ชาดประสมกับปรอทและ กํามะถันเพื่อจะให้ชาดจับแน่นกับเนื้อทองดุจกะไหล่และ เพื่อจะให้สุก. (ลัทธิ).
  15. ชายทะเล : (ภูมิ) น. เขตระหว่างแนวนํ้าทะเลลงตํ่าสุดกับ แนวนํ้าทะเลขึ้นสูงสุด.
  16. ชำระ : ก. ชะล้างให้สะอาด เช่น ชําระร่างกาย; สะสาง, ปรับปรุง แก้ไขให้ดีขึ้น, เช่น ชําระระไตรปิฎก ชำระพจนานุกรม; พิจารณาตัดสิน เช่น ชําระความ; ใช้ในคําว่า ชําระหนี้.
  17. ชิงช้าชาลี : น. ชื่อไม้เถาชนิด Tinospora baenzigeri Forman ในวงศ์ Menispermaceae คล้ายบอระเพ็ด แต่เถาค่อนข้างเกลี้ยง ใช้ทํายาได้.
  18. ชิรณัคคิ : [ชิระนักคิ] น. ไฟธาตุที่ทําอาหารให้ย่อย, ชีรณัคคิ ก็ว่า. (ส. ชีรณ + ป. อคฺคิ).
  19. ชีล้อม : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Oenanthe javanica (Blume) DC. ในวงศ์ Umbelliferae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใบแบนรีขอบจัก ใช้เป็นผัก ดอกเป็นกระจุกสีขาว ผลกลมค่อนข้างยาว, อ้น หรือ อ้นอ้อ ก็เรียก, พายัพและอีสานเรียก หนอกช้าง.
  20. เชื่อ : ก. เห็นตามด้วย, มั่นใจ, ไว้ใจ; ซื้อหรือขายโดยติดค้างไว้ ไม่ต้องชําระเงินทันที.
  21. แชร์ : น. การลงหุ้นเป็นจํานวนเงินและตามวาระที่กําหนด แล้วประมูลว่าจะให้ดอกเบี้ยเท่าไร ผู้ลงหุ้นที่ให้ดอกเบี้ย สูงสุดจะได้รับเงินก่อน เวียนไปจนครบจํานวนผู้เล่น, เรียกการลงหุ้นเช่นนั้นว่า เล่นแชร์. (อ. share).
  22. ใช้ : ก. บังคับให้ทํา เช่น ใช้งาน; จับจ่าย เช่น ใช้เงิน; เอามาทํา ให้เกิดประโยชน์ เช่น ใช้เรือ ใช้รถ; ชําระ ในคําว่า ใช้หนี้; ตอบแทน, ให้ทดแทน, เช่น เมื่อเขาเลี้ยงเราเราต้องเลี้ยงใช้เขา.
  23. ใช้กำลังประทุษร้าย : (กฎ) ก. ทำการประทุษร้ายแก่กายหรือ จิตใจของบุคคล ไม่ว่าจะทำด้วยใช้แรงกายภาพหรือด้วยวิธี อื่นใด และหมายความรวมถึงการกระทำใด ๆ ซึ่งเป็นเหตุ ให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ ไม่ว่าจะโดยใช้ยาทำให้มึนเมา สะกดจิต หรือใช้วิธีอื่นใด อันคล้ายคลึงกัน.
  24. ซักฟอก : ก. ชําระให้หมดมลทิน; ซักถามให้ได้ความจะแจ้ง.
  25. เซ็น ๑ : น. ไม้ที่สอดเข้ากับลูกตั้งเรือนฝากระแชงอ่อนหรือฝาขัดแตะ. ก. เย็บแบบด้วยดอกไม้หรือใบไม้ให้เป็นแถบยาว เพื่อใช้ตกแต่ง ประดับโครงประทุนคลุมผ้าไตรเป็นต้น, สวน ก็ว่า.
  26. โซเซ : ว. เซไปมา, ทรงตัวไม่ใคร่อยู่, กระโซกระเซ ก็ว่า.
  27. ดรณี : [ดะระนี] (แบบ) น. เรือ. (ป., ส. ตรณี = สิ่งที่แล่นไป).
  28. ด้วมเดี้ยม : ว. กระด้วมกระเดี้ยม, ต้วม ๆ เตี้ยม ๆ, ค่อย ๆ ไป, ไม่คล่องแคล่ว.
  29. ดอก ๑ : น. ส่วนหนึ่งของพรรณไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง มีหน้าที่ทําให้เกิดผล และเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ มีเกสรและเรณูเป็นเครื่องสืบพันธุ์, เรียกเต็มว่า ดอกไม้; ลวดลายที่เป็นดอกเป็นดวงตามผืนผ้าเป็นต้น; (ปาก) ค่าตอบแทน ที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคล นั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือชําระหนี้ไม่ถูกต้อง, เรียกเต็มว่า ดอกเบี้ย; ลักษณนามของสิ่งของบางอย่าง เช่น ข้าวโพดดอกหนึ่ง สว่าน หนึ่งดอก.
  30. ดอกเบี้ย : (กฎ) น. ค่าตอบแทนที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือ ชําระหนี้ไม่ถูกต้อง.
  31. ดอกเบี้ยทบต้น : น. ดอกเบี้ยที่ค้างชําระซึ่งนําไปรวมกับเงินต้นเพื่อรวมคิด ดอกเบี้ยต่อไป.
  32. ด้านรี : น. ด้านข้างของเรือนฝากระดานหรือโบสถ์ วิหาร.
  33. ด้านสกัด : น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านหัวหรือ ด้านท้ายของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง.
  34. ดาวเรือง : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tagetes erecta L. ในวงศ์ Compositae ใบเป็นจัก ดอกเป็นกระจุก สีเหลือง.
  35. ดิ่งพสุธา : น. เรียกการกระโดดร่มจากที่สูงโดยให้ตัวลอยอยู่ในอากาศก่อน เมื่อใกล้พื้นดินประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร จึงกระตุกสายร่มให้กางออก ว่า กระโดดร่มแบบดิ่งพสุธา.
  36. ดุรค, ดุรคะ : [ดุรก, ดุระคะ] (แบบ) น. ม้า. (ป., ส. ตุรค ว่า สัตว์ไปเร็ว).
  37. ดุลการชำระเงิน : [ดุน-] น. ความต่างกันระหว่างปริมาณเงินที่ส่งออกนอก ประเทศกับปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศ, ถ้าปริมาณเงินที่นําเข้ามาใน ประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงิน เกินดุล, ถ้าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่นําเข้าใน ประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงินขาดดุล.
  38. ดูกร : [ดูกะระ, ดูกอน], ดูก่อน, ดูรา คำกล่าวขึ้นต้นข้อความกับผู้ที่จะพูดด้วย ให้สนใจฟัง.
  39. เดียรดาษ : [เดียระดาด] ว. เกลื่อนกลาด, เกลื่อน, ดื่นดาษ, ดาษเดียร ก็ใช้.
  40. เดือนจันทรคติ : [-จันทฺระคะติ] น. การนับเดือนโดยถือเอาดวงจันทร์เดิน รอบโลกเป็นเกณฑ์ โดยนับจากวันเดือนดับไปถึงวันเดือนดับที่ถัดไป มี ระยะเวลาประมาณ ๒๙ วัน ๑๒ ชั่วโมง ๔๔ นาที แบ่งเป็น ข้างขึ้น ข้างแรม.
  41. โดรณ, โดรณะ : [โดน, โดระนะ] (แบบ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เสาต้าย, เสาค่าย, เสาระเนียด. (ป., ส. โตรณ).
  42. ตก : ก. กิริยาที่ลดลงสู่ระดับตํ่าในอาการอย่างพลัดลง หล่นลง เช่น ตกบันได ตกต้นตาล เครื่องบินตก; ไหลลง, หยดลง มา, เช่น นํ้าตก ฝนตก เหงื่อตก; ลดลง เช่น ฝีมือตก มือตก เสียงตก; เพาะข้าวลงในตากล้า เรียกว่า ตกกล้า; เอาเบ็ด เกี่ยวเหยื่อหย่อนลงไปให้ปลาหรือกุ้งกินแล้ววัดหรือสาวขึ้น มา เช่น ตกปลา ตกกุ้ง; ย่างเข้า เช่น ตกเย็น ตกคํ่า ตกฤดู หนาว, เรียกสีที่ละลายออกหรือจางไปในเวลาซักหรือถูก แดดเป็นต้นว่า สีตก, ได้, ถึง, เช่นตกทุกข์ ตกระกําลําบาก, มาถึง เช่น คําสั่งยังไม่ตก ของที่สั่งตกมาแล้ว, ขาดหายไป เช่น เขียนหนังสือตก, เขียนคําที่ขาดเติมลง เช่น ตกหนังสือ, ไม่ได้ขึ้นยานพาหนะเพราะไปไม่ทันหรือไม่มีค่าโดยสาร เช่น ตกรถตกเรือ, เอาเงินหรือสิ่งของให้ไปก่อนแล้วคิดเอา เป็นพืชผลภายหลังตามแต่จะตกลงกัน เช่น ตกข้าว คือ เอาเงินให้ไปก่อนแล้วคิดเอาข้าวทีหลัง, โดยปริยายหมาย ความว่า ลดลงตํ่า เป็นอาการแสดงว่า กลัวยอมแพ้ หรือ หมดกําลัง เป็นต้น เช่น คอตก หัวตก หางตก. ว. สำเร็จ เช่น แก้ตก ปลงตก คิดตก.
  43. ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง : น. เครื่องราชบรรณาการที่ทำเป็นต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เป็นคู่ ซึ่งเมืองขึ้นส่งมาถวายแก่พระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ ๓ ปี; เครื่องสักการะ ที่เจ้านายหรือขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์ตั้งแต่เจ้าพระยาขึ้นไปถวายพระเจ้า แผ่นดินเมื่อได้รับสถาปนาให้ทรงกรมหรือเลื่อนกรมให้สูงขึ้น หรือเมื่อได้รับ พระราชทานตั้งยศ.
  44. ตรณี : [ตะระนี] (แบบ) น. เรือ. (ป., ส.).
  45. ตรละ ๑ : [ตะระละ] (แบบ) น. ข้าวต้ม. (ป., ส.).
  46. ตรละ ๒ : [ตะระละ] (แบบ) น. พลอยเม็ดกลางของเครื่องสร้อยคอ, สร้อยคอ; เพชร, เหล็ก; พื้นล่าง, พื้นราบ; ส่วนลึก. ว. กลับกลอก; หวั่นไหว, สั่น. (ป., ส.).
  47. ตรลา : [ตะระลา] (แบบ) น. ข้าวต้ม; นํ้าผึ้ง; เหล้า. (ป., ส. ตรล).
  48. ตรเลิด : [ตฺระเหฺลิด] (กลอน) ก. เตลิด, กระเจิดกระเจิง, กระจัดกระจาย.
  49. ระ : [ตฺระ] น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
  50. ระ : [ตฺระ] น. แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1697

(0.1048 sec)