Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : รา, 1697 found, display 1151-1200
  1. ใบแข็ง : น. เรือเดินทะเลที่ใช้เสื่อเป็นใบ ใช้ไม้เป็นกระดูก เรียกว่า เรือใบแข็ง.
  2. ปกรณัม : [ปะกะระนำ] น. ปกรณ์, เรื่อง, เช่น ปักษีปกรณัม. (ส. ปฺรกรณ; ป. ปกรณ).
  3. ปฐมสุรทิน : [ปะถมมะสุระทิน] น. วันที่ ๑ แห่งเดือนทางสุริยคติ.
  4. ปร- : [ปะระ-, ปอระ-] ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. (ป.).
  5. ปรนัย : [ปะระ-, ปอระ-] ว. วัตถุวิสัย; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบ มักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคําถามที่ต้องการ คําตอบตายตัว ว่า การสอบแบบปรนัย, คู่กับ อัตนัย.
  6. ปร-ปักษ์ : [ปอระ-] น. ข้าศึก, ศัตรู, ฝ่ายตรงข้าม.
  7. ปรม- : [ปะระมะ-, ปอระมะ-] ว. อย่างยิ่ง (ใช้นําหน้าคําอื่นโดยมาก). (ป.).
  8. ปรมาณู : [ปะระ-, ปอระ-] น. ส่วนของสารที่มีขนาดเล็กที่สุดจน ไม่สามารถจะแยกย่อยได้อีกด้วยวิธีเคมี. (ป., ส. ปรมาณุ).
  9. ปรมาภิไธย : [ปะระมาพิไท, ปอระมาพิไท] น. ชื่อ (ใช้เฉพาะ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลง พระปรมาภิไธย. (ป. ปรมาภิเธยฺย).
  10. ปรมาภิเษก : [ปะระ-, ปอระ-] น. อภิเษกอย่างยิ่ง คือ การตรัสรู้เป็น พระพุทธเจ้า. (ส.).
  11. ปรมินทร์, ปรเมนทร์ : [ปะระมิน, ปอระมิน, ปะระเมน, ปอระเมน] น. ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง. (ส.).
  12. ปรเมศวร์ : [ปะระเมด] น. ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง คือ พระอิศวร. (ส.).
  13. ปรเมษฐ์ : [ปะระเมด, ปอระเมด] น. ผู้สูงสุด คือ พระพรหม. (ส.).
  14. ปรเมหะ : [ปะระ-] น. ชื่อคัมภีร์หมอว่าด้วยโรคเกิดแต่นํ้าเบา (น้ำปัสสาวะ).
  15. ปรโลก : [ปะระ-, ปอระ-] น. โลกหน้า.
  16. ปรวาที : [ปะระ-] น. ผู้กล่าวถ้อยคําฝ่ายตอบหรือฝ่ายค้าน, คู่กับ สกวาที.
  17. ปรศุ : [ปะระสุ] น. ขวาน. (ส.; ป. ผรสุ).
  18. ปรสิต, ปรสิต- : [ปะระสิด, ปะระสิดตะ-] น. (แพทย์) สัตว์พวกพยาธิที่อาศัยอยู่ใน มนุษย์และสัตว์; (เกษตร) ตัวเบียน เช่น กาฝาก. (อ. parasite).
  19. ปรสิตวิทยา : [ปะระสิดตะวิดทะยา, ปะระสิดวิดทะยา] (แพทย์) น. วิชาที่ว่าด้วยพยาธิ.
  20. ปรหิตะ : [ปะระหิตะ, ปอระหิตะ] น. ประโยชน์ผู้อื่น, มักใช้ควบกับ ประโยชน์ เป็น ปรหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น. (ป. ปรหิต).
  21. ประ- ๑ : [ปฺระ] ใช้เติมหน้าคําอื่นเพื่อให้คําหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คําที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร เช่น ประทม เป็น บรรทม.
  22. ประ ๓ : [ปฺระ] ก. ทำให้เป็นจุด ๆ เช่น ประไข่ปลา, ทำให้เป็นจุด ๆ หรือ เม็ด ๆ ทั่วไปอย่างประแป้ง.
  23. ประ ๔ : [ปฺระ] (ถิ่น-ปักษ์ใต้, มลายู) น. ลูกกระ. (ดู กระ๒).
  24. ประ ๕ : [ปฺระ] ดู กระ.
  25. ประกายพรึก : [ปฺระกายพฺรึก] น. ดาวรุ่ง คือ ดาวพระศุกร์ที่เห็นใน เวลาเช้ามืด, ถ้าเห็นในเวลาหัวคํ่า เรียกว่า ดาวประจําเมือง. (ข. ผกาย ว่า ดาว + พรึก ว่า รุ่ง).
  26. ประกาศนียบัตร : [ปฺระกาสะนียะบัด, ปฺระกาดสะนียะบัด] น. เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปรกติตํ่ากว่าระดับอุดมศึกษา.
  27. ประกีรณกะ, ประเกียรณกะ : [ปฺระกีระนะกะ, ปฺระเกียนระนะกะ] ว. เรี่ยราย, เบ็ดเตล็ด, กระจาย, ระคนกัน, คละกัน. (ส. ปฺรกีรฺณก; ป. ปกิณฺณก).
  28. ประโคนธรรพ, ประโคนธรรพ์ : [ปฺระโคนทับ, ปฺระโคนทัน] น. หัวหน้าคนธรรพ์ผู้เป็นเจ้าแห่ง การดนตรี ถือว่าเป็นครูปี่พาทย์, เขียนเป็น ประคนธรรพ หรือ ประคนธรรพ์ ก็มี.
  29. ประจญ : [ปฺระจน] ก. ต่อสู้, สู้รบ, ต้านทาน, ผจญ ก็ว่า.
  30. ประจักษนิยม : [ปฺระจักสะ-] น. ประสบการณ์นิยม.
  31. ประจัญ : [ปฺระจัน] ก. ปะทะต่อสู้, ผจัญ ก็ว่า.
  32. ประจาน : ก. ประกาศเปิดเผยความชั่วให้รู้ทั่วกันด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น พูดประจาน ตัดหัวเสียบประจาน พาตระเวนประจานทั่วเมือง. (ข. ผจาล ว่า ทําให้เข็ดหลาบ).
  33. ประชวร : [ปฺระชวน] (ราชา) ก. เจ็บป่วย. (ใช้แก่เจ้านาย). (ส. ปฺรชวร).
  34. ประชากรศาสตร์ : น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่ อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวม ทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ.
  35. ประชาธิปไตย : [ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต] น. ระบอบการ ปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่. (ส. ปฺรชา + ป. อธิปเตยฺย).
  36. ประณุท : [ปฺระนุด] ก. บรรเทา, ระงับ. (ส. ปฺรณุท; ป. ปนุท).
  37. ประดิรพ : [ปฺระดิรบ] ก. ประติรพ.
  38. ประเดยก : [ปฺระดะเหฺยก] (แบบ) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก. (ม. คําหลวง วนปเวสน์). (ส. ปฺรเตฺยก; ป. ปจฺเจก).
  39. ประตยาค : [ปฺระตะยาก] ก. ประจาค. (ส. ปฺรตฺยาค).
  40. ประติชญา : [ปฺระติดชะยา] น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺ?า; ป. ปฏิญฺ?า).
  41. ประติมากร : [ปฺระติมากอน] น. ช่างปั้น, ช่างแกะสลัก.
  42. ประติมากรรม : [ปฺระติมากํา] น. ศิลปะสาขาหนึ่งในจําพวกวิจิตรศิลป์เกี่ยวกับการ แกะสลักไม้ หินอ่อน โลหะ เป็นต้น ให้เป็นรูปหรือลวดลายต่าง ๆ. (ส. ปฺรติมา + กรฺม; ป. ปฏิมา + กมฺม).
  43. ประติศรัพ : [ปฺระติสับ] น. ปฏิสวะ. (ส.; ป. ปฏิสฺสว).
  44. ประตูน้ำ : น. ประตูสําหรับควบคุมระดับนํ้าที่ไหลเข้าออก; (กฎ) สิ่ง ที่สร้างขึ้นในทางนํ้าเพื่อให้เรือแพผ่านทางนํ้าที่มีระดับนํ้าต่างกันได้.
  45. ประตูระบาย : น. สิ่งที่สร้างขึ้นในคลองส่งนํ้าเพื่อควบคุมนํ้าในคลอง ให้มีระดับหรือปริมาณตามที่ต้องการ; (กฎ) สิ่งที่สร้างขึ้นในทางนํ้า เพื่อทด กัก กั้น หรือระบายนํ้า ณ ที่อื่นอันมิใช่ที่มาแห่งนํ้าซึ่งจะส่งเข้า สู่เขตชลประทาน โดยมีช่องปิดเปิดได้.
  46. ประถมจินดา : [ปฺระถมมะ-] น. ชื่อคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ.
  47. ประทยด : [ปฺระเทียด] ก. ประชด เช่น จึงจะรุมโรมโซรมประทยด สยดตัดพ้อ. (ม. คําหลวง ชูชก); ว่าร้ายในเชิงเปรียบเทียบ.
  48. ประทากล้อง : [ปฺระทากฺล้อง] น. ทองคําเปลวอย่างหนาและเนื้อดี เหมือนทอง ของหลวง, ใช้ว่า ประทาศี ก็มี, เรียกให้เต็มว่า ทองประทากล้อง ทองประทาศี.
  49. ประทานบัตร : [ปฺระทานนะบัด, ปฺระทานบัด] (กฎ) น. หนังสือสําคัญ ที่ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ เพื่อให้มีสิทธิทําเหมืองแร่ภายในเขต ที่กําหนดในหนังสือสําคัญนั้น; ใบอนุญาตซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดออก ให้แก่บุคคลผู้ประมูลได้ ให้มีสิทธิทําการประมงในที่ว่าประมูล.
  50. ประทุฐ : [ปฺระทุด] ว. ชั่ว, ร้าย. (ป. ปทุฏฺ?).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1697

(0.0945 sec)