Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : รา, 1697 found, display 251-300
  1. รากฏการณ์ : [ปฺรากดกาน, ปฺรากดตะกาน] น. การสําแดงออกมา ให้เห็น.
  2. ราการ : [ปฺรากาน] น. กําแพงสําหรับป้องกันการรุกราน. (ส. ปฺราการ; ป. ปาการ).
  3. ราคาร : [ปฺราคาน] น. ตึกใหญ่. (ส.).
  4. รางค์ปรา : [ปฺรางปฺรา] (กลอน) ตัดมาจาก ปรางค์ปราสาท.
  5. ราจีน : [ปฺราจีน] น. ทิศตะวันออก. (ส. ปฺราจีน; ป. ปาจีน).
  6. ราชัย : [ปะราไช] น. ความพ่ายแพ้. ก. พ่ายแพ้. (ป.).
  7. ราชิต : [ปะราชิด] ก. แพ้. (ป.).
  8. ราณี : [ปฺรานี] น. ผู้มีชีวิต, สัตว์, คน. (ส. ปฺราณิ, ปฺราณินฺ; ป. ปาณี).
  9. ราติหารย์ : [ปฺราติหาน] (กลอน) น. ปาฏิหาริย์. (ส. ปฺราติหารฺย; ป. ปาฏิหาริย).
  10. รานี : [ปฺรา-] ก. เอ็นดูด้วยความสงสาร.
  11. รานีปราศรัย : [ปฺรานีปฺราไส] ก. ปรานี (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย.
  12. ราบดาภิเษก : [ปฺราบดาพิเสก] ว. มีอภิเษกอันถึงแล้ว. น. พระราชพิธีอภิเษกของ พระเจ้าแผ่นดินซึ่งได้ราชสมบัติมาด้วยการรบชนะข้าศึก. (ส. ปฺราปฺต + อภิเษก).
  13. ราภพ : [ปะราพบ] น. ความฉิบหาย. (ป. ปราภว).
  14. รามาส ๑ : [ปฺรามาด] ก. ดูถูก.
  15. รามาส ๒ : [ปะรามาด] น. การจับต้อง, การลูบคลํา. (ป.).
  16. ราโมช : [ปฺราโมด] น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมทย์ ก็ใช้. (ป. ปาโมชฺช; ส. ปฺรโมทฺย)
  17. ราโมทย์ : [ปฺราโมด] น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมช ก็ใช้. (ส. ปฺรโมทฺย; ป. ปาโมชฺช).
  18. รารภ : [ปฺรารบ] ก. กล่าวถึง; ตั้งต้น; ดําริ. (ส.).
  19. รารมภ์ : [ปฺรารม] ก. เริ่มแรก; วิตก, รําพึง, ครุ่นคิด. (ส. ปฺรารมฺภ ว่า เริ่มแรก, เริ่มต้น).
  20. ราศรัย : [ปฺราไส] น. การพูดด้วยไมตรีจิต, การแสดงอัชฌาสัยในระหว่าง ผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; คําปรารภ. ก. พูดด้วยไมตรีจิต, พูดแสดงอัชฌาสัยระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; ปรารภ. (ส. ปฺรศฺรย).
  21. ราษาณ : [ปฺราสาน] น. หิน. (ส. ปาษาณ; ป. ปาสาณ).
  22. ราสัย : [ปฺราไส] ก. ปราศรัย.
  23. ราสาท : [ปฺราสาด] น. เรือนมียอดเป็นชั้น ๆ สําหรับเป็นที่ประทับของ พระเจ้าแผ่นดินหรือเป็นที่ประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์. (ส. ปฺราสาท; ป. ปาสาท).
  24. ปะกัง : น. ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า ทําให้มีอาการ ปวดหัวเวลาเช้า ๆ ปวดกระบอกตา เมื่อเห็นแดดจะลืมตาไม่ขึ้น เรียกว่า ลมปะกัง, ตะกัง ก็ว่า.
  25. ปัตคาด : [ปัดตะคาด] น. ชื่อเส้นในร่างกายของคน ในตําราหมอนวดว่า ตั้งแต่ท้องน้อยถึงโคนขาทั้งด้านหน้าและด้านหลัง.
  26. ปัตนิ, ปัตนี : [ปัดตะหฺนิ, -นี] น. หญิงแม่เรือน, เมีย. (ในตําราหมอดูว่า เนื้อคู่). (ส.; ป. ปตานี).
  27. ปาจนะ : ปาจะ-] (แบบ) น. ประตัก. (ป.; ส. ปฺราชน).
  28. ปาจรีย์, ปาจารย์ : [ปาจะรี, ปาจาน] น. อาจารย์ของอาจารย์. (ป.; ส. ปฺราจารฺย = ปฺราคต + อาจารฺย).
  29. ปาทุกา : (แบบ) น. รองเท้า, เขียงเท้า, เขียนเป็น บราทุกรา หรือ ปราทุกรา ก็มี. (ป., ส.).
  30. ป่าน : น. ชื่อพรรณไม้หลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เปลือกเป็น ใยเหนียว ใช้ทอผ้าและทําเชือก เช่น ป่านรามี [Boehmeria nivea (L.) Gaudich.] ในวงศ์ Urticaceae, ป่านมนิลา (Musa textilis L.) ในวงศ์ Musaceae; เชือกที่ทําด้วยป่าน, ถ้าใช้ชักว่าวเรียกว่า ป่านว่าว, ถ้าเป็นเส้นเล็กเรียกว่า ป่านแลบ, ถ้ายังเป็นกาบอยู่ ยัง ไม่ได้ฟั่นเชือกเรียกว่า ป่านกลีบ; ชื่อผ้าเนื้อละเอียดและบางโปร่ง ที่ทอจากเส้นใยพืชบางชนิด เรียกว่า ผ้าป่าน.
  31. ปานดง : น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่ามีอาการ เจ็บปวดแล่นไปตามผิวหนัง.
  32. ปาวาร : [ปาวาน] (แบบ) น. ผ้าห่มใหญ่. (ป.; ส. ปฺราวาร).
  33. เปรมปรา : [-ปฺรา] (กลอน) ตัดมาจาก เปรมปราโมทย์.
  34. เปรา : [เปฺรา] (ถิ่น-พายัพ) น. ชื่อปีนักษัตรของไทยเหนือ ตรงกับ ปีฉลู, คําเดียวกับ เป๊า.
  35. เปลี่ยวดำ : น. ชื่อโรคอย่างหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่าเกิดจากความ เย็นมาก, เกลี่ยวดํา ก็ว่า.
  36. ผัสสาหาร : น. อาหารคือผัสสะ หมายเอาการประจวบกันแห่ง อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ เป็นปัจจัยแห่ง เจตสิกอันจะพึงเกิดโดยวิถีมีเวทนาเป็นต้น เป็นประการหนึ่ง ในอาหารทั้ง ๔ (อีก ๓ อย่าง คือ กวลิงการาหาร อาหารคือ คําข้าว ๑ มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา ๑ และ วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ ๑). (ป.).
  37. แผ่กระจาด : (ปาก) ก. นอนแผ่เต็มที่ เช่น ลงไปแผ่กระจาดอยู่บนร้าน ข้างโรงยี่เกแล้ว. (รัตนทวารา).
  38. ฝีหมอบ : ดู พญารากดํา.
  39. พยุหบาตร : (โบ), พยุหบาตรา [บาด, บาดตฺรา] (กลอน) น. กระบวนทัพ.
  40. พยุหร : [พะยุหอน] น. เกณฑ์เลขผลหารของวิธีฉวาง. (ศัพท์ใช้ในตํารา เลขโบราณ).
  41. พรหมชาติ : น. ชื่อตําราหมอดู.
  42. พระบท : น. ตําราหมอดูโบราณสําหรับใช้เสี่ยงทายโดยวิธีเอาไม้แทง.
  43. พระราชกฤษฎีกา : (กฎ) น. บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดย อาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน.
  44. พำลา : น. เรียกช้างซึ่งมีลักษณะอันชั่วร้ายชนิดหนึ่ง ตําราไม่ให้เอามาใช้ เป็นพาหนะ.
  45. พิชัยสงครา : น. ตําราว่าด้วยกลยุทธ์, ตําราว่าด้วยวิธีการเอาชนะ ในสงคราม.
  46. เพชรายุธ : [เพ็ดชะรายุด] น. อาวุธเพชรของพระอินทร์, ชื่อหนึ่งของ พระอินทร์. (ส. วชฺร + อาวุธ).
  47. เพรา : [เพฺรา] น. เวลาเย็น เช่น เกลออย่ากินเข้าเพราเลย เกลออดเข้าเพรา ให้เถิงรุ่ง. (ไตรภูมิ); มื้อ.
  48. เพรา : [เพฺรา] ว. งาม, น่าดู. เพราพริ้ง, เพราเพริศ ว. สวยงาม, พริ้งเพรา ก็ว่า.
  49. แพทยศาสตร์ : [แพดทะยะ, แพด] น. ตําราหมอ; วิชาการป้องกัน และบําบัดโรค.
  50. ภัสตรา : [พัดสะตฺรา] (แบบ) น. สูบลม. (ส.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1697

(0.1116 sec)