Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างปลอดภัย, ปลอดภัย, อย่าง , then ปลอดภัย, อยาง, อย่าง, อยางปลอดภย, อย่างปลอดภัย .

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างปลอดภัย, 2406 found, display 1201-1250
  1. ปรมาภิเษก : [ปะระ-, ปอระ-] น. อภิเษกอย่างยิ่ง คือ การตรัสรู้เป็น พระพุทธเจ้า. (ส.).
  2. ปรอท : [ปะหฺรอด] น. ธาตุลําดับที่ ๘๐ สัญลักษณ์ Hg เป็นโลหะ ลักษณะ เป็นของเหลว สีเงิน แข็งตัวที่ -๓๘.๓๖?ซ. เดือดที่ ๓๕๗?ซ. ใช้ ประโยชน์นําไปทําเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ โลหะเจือซึ่งเรียกว่า อะมัลกัม (amalgam) ใช้ในงานทันตกรรมและทําเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อื่น ๆ สารประกอบของปรอทเป็นพิษ แต่บางอย่างใช้เป็นยาได้. (อ. mercury); (ปาก) เครื่องวัดอุณหภูมิ; โดยปริยายหมายถึงอาการ ที่เป็นไปอย่างรวดเร็วว่องไว เช่น ไวเป็นปรอท. (ป., ส. ปารท).
  3. ประ ๓ : [ปฺระ] ก. ทำให้เป็นจุด ๆ เช่น ประไข่ปลา, ทำให้เป็นจุด ๆ หรือ เม็ด ๆ ทั่วไปอย่างประแป้ง.
  4. ประกบตัว : ก. ติดตามอย่างใกล้ชิด เช่น ตํารวจประกบตัวผู้ร้าย, คุมตัวอย่างใกล้ชิด เช่น ประกบตัวผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามในการเล่น ฟุตบอลเป็นต้น.
  5. ประกันภัย : (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับ ประกันภัย ตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจํานวนหนึ่ง ให้ในกรณีที่หากมีวินาศภัยขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดัง ได้ระบุไว้ในสัญญา และการนี้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้เอา ประกันภัย ตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัย, สัญญา ประกันภัย ก็เรียก.
  6. ประกาย : น. แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากวัตถุที่ลุกเป็นไฟ เช่น ประกายลูกไฟ, แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากของแข็ง บางอย่างที่กระทบกันอย่างแรง เช่น ดาบกระทบกันเป็นประกาย ตีเหล็กไฟเป็นประกาย, ความแวววาวที่เหลี่ยมเพชรเป็นต้น กระทบแสง, แสงแปลบปลาบอย่างแสงฟ้าแลบ, โดยปริยาย หมายถึงแสงที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตาเป็นประกาย, แสงสะท้อนจากสิ่งที่เป็นมันเป็นเงา เช่น ประกายแสงจาก กระเบื้องหลังคาโบสถ์. (แผลงมาจาก ผกาย).
  7. ประคับประคอง : ก. คอยระมัดระวังพยุงไว้, คอยบํารุงรักษา, ทะนุถนอมอย่างดี.
  8. ประโคม : ก. บรรเลงดนตรีเพื่อเป็นสัญญาณในพิธีบางอย่างเพื่อสักการบูชา หรือยกย่องเป็นต้น.
  9. ประจัญบาน : ก. รบอย่างตะลุมบอน.
  10. ประจำยาม : น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง มีรูปเป็นดอก ๔ กลีบ วางเป็นระยะ ๆ คั่นลายอื่น.
  11. ประจิ้มประเจ๋อ : ว. พูดจาและแสดงกิริยาเสนอหน้าอย่างเด็ก.
  12. ประชี : ก. ทำสิ่งที่เป็นปุยอย่างสำลีหรือที่เป็นเส้นอย่างกลุ่มยาเส้นให้กระจาย ตัวออก.
  13. ประชุม : ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ, โดยปริยาย ใช้หมายถึงเอาสิ่งที่เป็นประเภทเดียวกันมารวมกัน เช่น ประชุม พงศาวดาร ประชุมปาฐกถา, บางทีใช้หมายความอย่างเดียวกับชุมนุม เช่น ประชุมพระบรมราชาธิบาย ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔.
  14. ประณีต : ว. ละเอียดลออ, เรียบร้อยงดงาม, เช่น ฝีมือประณีต ทําอย่าง ประณีต, ที่ปรุงอย่างสุดฝีมือด้วยของดี ๆ เช่น ปรุงอาหารอัน ประณีต. (ส. ปฺรณีต; ป. ปณีต).
  15. ประท้วง : ก. กระทําการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้าน เพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสือประท้วง.
  16. ประทากล้อง : [ปฺระทากฺล้อง] น. ทองคําเปลวอย่างหนาและเนื้อดี เหมือนทอง ของหลวง, ใช้ว่า ประทาศี ก็มี, เรียกให้เต็มว่า ทองประทากล้อง ทองประทาศี.
  17. ประเทศ : น. บ้านเมือง, แว่นแคว้น; คำเพิ่มข้างหลังของคำเดิม เมื่อเพิ่มแล้ว ความหมายคงเดิม เช่น อุรประเทศ หทัยประเทศ. (ส.; ป. ปเทส); (กฎ) ชุมนุมแห่งมนุษย์ซึ่งตั้งมั่นอยู่ในดินแดนอันมีอาณาเขตแน่นอน มีอํานาจอธิปไตยที่จะใช้ได้อย่างอิสระ และมีการปกครองอย่างเป็น ระเบียบเพื่อประโยชน์ของบรรดามนุษย์ที่อยู่ร่วมกันนั้น, รัฐ ก็เรียก.
  18. ประนี้ : (โบ) ว. อย่างนี้.
  19. ประเปรี้ยง : ว. เสียงอย่างเสียงฟ้าผ่า.
  20. ประแปร้น : [ปฺระแปฺร้น] ว. เสียงอย่างเสียงช้างร้อง, เสียงที่แผดออก.
  21. ประพจน์ : น. ข้อเสนอ, ข้อความที่กล่าว. (ส.); (คณิต) ประโยคบอกเล่าหรือ ประโยคปฏิเสธซึ่งเป็นข้อความจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่ง เท่านั้น จะมีความหมายกํากวมไม่ได้. (อ. proposition). (ส. ปฺรวจน).
  22. ประพาสต้น : (ราชา) ก. เที่ยวไปเป็นการส่วนพระองค์, เที่ยวไป อย่างไม่เป็นทางการ, ใช้ว่า เสด็จประพาสต้น.
  23. ประมาณการ : น. ปริมาณงานหรือค่าใช้จ่ายที่กะหรือกําหนดไว้อย่าง คร่าว ๆ. ก. กะหรือกําหนดปริมาณงานหรือค่าใช้จ่ายไว้อย่างคร่าว ๆ เช่น ประมาณการในการก่อสร้าง.
  24. ประสบการณ์นิยม : [ปฺระสบกาน-] น. ลัทธิทางปรัชญาที่ถือว่า ประสบการณ์เป็นบ่อเกิดของความรู้ทุกอย่าง; การปฏิบัติที่เน้น ประสบการณ์; การแสวงหาความรู้โดยอาศัยการสังเกต การทดลอง และวิธีอุปนัย, ประจักษนิยม ก็ว่า. (อ. empiricism).
  25. ประสานงา : ก. ใช้งาสวนแทงกันในการยุทธหัตถี; ขัดแย้งกันอย่าง รุนแรง, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รถหรือเรือแล่นเข้าชนกันอย่างแรง.
  26. ปรางคณะ : [ปฺรางคะนะ] น. คณะ, สํานัก; สนาม; พื้นอย่างพื้นเรือน. (ส.).
  27. ปราชาปัตยวิวาหะ : [ปฺราชาปัดตะยะ-] น. การสมรสวิธีหนึ่งที่บิดายกลูกสาวให้เจ้าบ่าว โดยปราศจากการเรียกร้องอย่างใดอย่างหนึ่งจากเจ้าบ่าว. (ส.).
  28. ปราด : [ปฺราด] ก. แล่นอย่างฉับไว เช่น ปราดเข้าใส่. ว. อาการที่เป็นไป อย่างฉับไว เช่น วิ่งปราด.
  29. ปรานีปราศรัย : [ปฺรานีปฺราไส] ก. ปรานี (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย.
  30. ปริก ๑ : [ปฺริก] น. ส่วนยอดของฝาโถหรือผอบที่ทำด้วยทองอย่าง หัวแหวนนพเก้า สำหรับสวมบนฝาโถหรือผอบ.
  31. ปริภูมิ : [ปะริพูม] (คณิต) น. เซตที่มีโครงสร้างบางอย่าง อาจเป็นโครงสร้าง แบบเรขาคณิตหรือโครงสร้างแบบอื่นก็ได้. (อ. space).
  32. ปริ่ม : [ปฺริ่ม] ว. เสมอขอบ, เสมอพื้น, (ในลักษณะอย่างนํ้าที่ขึ้นเสมอขอบ ตลิ่งหรือดอกบัวที่โผล่ขึ้นเสมอพื้นนํ้าเป็นต้น); อาการที่มีความยินดี ปลื้มใจ เช่น ปริ่มใจ ปริ่มยิ้ม ปริ่มเปรม.
  33. ปริโยสาน : [ปะริ-] น. ที่สุดลงโดยรอบ (หมายความว่า ที่สุดหรือจบลงอย่าง บริบูรณ์แล้ว), จบ. (ป.).
  34. ปริสัญญู : [ปะริสันยู] น. ผู้รู้จักประชุมชนและกิริยาที่จะต้องประพฤติต่อประชุมชน นั้น ๆ ว่า หมู่นี้เมื่อเข้าไปหาจะต้องทํากิริยาอย่างนี้ จะต้องพูดอย่างนี้ เป็นต้น. (ป.).
  35. ปรี๊ด : [ปฺรี๊ด] ว. อาการที่นํ้าหรือของเหลวพุ่งออกมาโดยแรงจากช่องแคบ ๆ มีเสียงดังเช่นนั้น เช่น น้ำพุ่งปรี๊ด บ้วนนํ้าลายปรี๊ด; มาก เช่น สูงปรี๊ด, จัด (ใช้แก่รสเปรี้ยว); เสียงอย่างเสียงเป่านกหวีดยาว ๆ.
  36. ปรึง : [ปฺรึง] ว. อย่างเร่งรีบ, เต็มที่, เช่น บ้างควบปรึงตะบึงไปไม่รอรั้ง. (อิเหนา). (ข. บฺรึง).
  37. ปรื๋อ : [ปฺรื๋อ] ว. อาการที่นกบินพุ่งไปอย่างเร็ว, โดยปริยายหมายความว่า มีอาการรวดเร็วเช่นนั้น เช่น แล่นปรื๋อ วิ่งปรื๋อ.
  38. ปรูดปราด, ปรู๊ดปร๊าด : ว. อาการที่เคลื่อนไหวอย่างว่องไว รวดเร็ว.
  39. ปลดออก : (กฎ) น. โทษทางวินัยสถานหนึ่ง ที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้ กระทําผิดวินัยอย่างร้ายแรง โดยสั่งให้ออกจากราชการ ผู้ถูกลงโทษ ปลดออกมีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออก.
  40. ปลอด : [ปฺลอด] ก. พ้นจาก, ปราศจาก, เช่น ปลอดคน ปลอดภัย; ล้วน, แท้ ๆ, เช่น ขาวปลอด ดําปลอด.
  41. ปล้อน : [ปฺล้อน] ก. ปลิ้นเปลือกหรือเมล็ดในผลไม้ออกจากปาก เช่น ปล้อน เมล็ดลําไย ปล้อนเมล็ดน้อยหน่า, ลอกเปลือกผลไม้ออก เช่น ปล้อน มะพร้าว, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปลิ้น เป็น ปล้อนปลิ้น หรือ ปลิ้นปล้อน มีความหมายอย่างปล้อน; โดยปริยายหมายความว่า ใช้อุบายล่อลวง เพื่อให้สำเร็จประโยชน์ตน.
  42. ปลาดำปลาแดง : น. เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๓ อัน ทาสีดำ สีแดง และ สีขาว เจ้ามือกำไม้ทั้ง ๓ อันไว้ แล้วใช้ความไวปัดไม้อันหนึ่งลง ในกล่อง ให้ลูกค้าแทงสี ถ้าแทงผิดเจ้ามือกิน, ไม้ดำไม้แดง หรือ อีดำอีแดง ก็เรียก.
  43. ปลาแนม : น. ชื่อของกินอย่างหนึ่ง ปรุงด้วยข้าวตากคั่วป่น เนื้อปลา หนังหมู เป็นต้น.
  44. ปลาหมึก : น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีขาซึ่งเรียกว่าหนวดอยู่บริเวณหัว อาศัยอยู่ในทะเล มีถุงบรรจุนํ้าสีดําอย่างหมึกสําหรับพ่นเพื่อพรางตัว มีหลายสกุล เช่น ปลาหมึกกระดอง สกุล Sepia ในวงศ์ Sepiidae, ปลาหมึกกล้วย สกุล Loligo และปลาหมึกหอม (Sepioteutis lessoniana) ในวงศ์ Loliginidae, ปลาหมึกสาย สกุล Octopus ในวงศ์ Octopodidae, หมึก ก็เรียก.
  45. ปล้ำ, ปล้ำปลุก : [ปฺลํ้า, -ปฺลุก] ก. ใช้แขนกอดรัดจับกุมเพื่อจะให้อีกฝ่ายหนึ่งล้ม หรือให้อยู่ในอํานาจที่จะทําได้ตามใจตน, โดยปริยายหมายความว่า พยายามทํากิจการอย่างเต็มกําลัง, ปลุกปลํ้า ก็ว่า.
  46. ปลี : [ปฺลี] น. ช่อดอกของกล้วยที่ยังมีกาบหุ้มอยู่; กล้ามเนื้อที่มีรูปลักษณะ อย่างหัวปลี เช่น ปลีน่อง; ยอดเจดีย์หรือยอดมณฑปเหนือปล้องไฉน หรือบัวกลุ่มขึ้นไป.
  47. ป่วนปั่น : ก. เคลื่อนไหวไปมาอย่างรุนแรงผิดปรกติ เช่น ทะเลป่วนปั่น, สับสนวุ่นวายผิดปรกติ เช่น ใจคอป่วนปั่น ท้องป่วนปั่น บ้านเมือง ป่วนปั่น, ปั่นป่วน ก็ว่า.
  48. ป๋อม : ว. เสียงดังอย่างของมีนํ้าหนักตกนํ้า, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ สูญหายไปอย่างของตกนํ้า เช่น หายป๋อมไปเลย.
  49. ปอย ๑ : น. กลุ่มก้อนหรือกระจุกเล็ก ๆ ของสิ่งที่เป็นเส้นเป็นฝอยอย่างเส้นด้าย หญ้า ผม หรือขน เช่น ปอยผม, ลักษณนามเรียกกระจุกหรือกลุ่มก้อน ของสิ่งเช่นนั้น เช่น ผมปอยหนึ่ง ผม ๒ ปอย.
  50. ปะปน : ก. ปนกัน (มักใช้ในลักษณะที่สิ่งต่างชนิดต่างประเภทระคนปนกัน), บางทีก็ใช้หมายความอย่างเดียวกับ ปน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2406

(0.1137 sec)