Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างมั่นใจ, มั่นใจ, อย่าง , then มนจ, มั่นใจ, อยาง, อย่าง, อยางมนจ, อย่างมั่นใจ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : อย่างมั่นใจ, 2407 found, display 2351-2400
  1. อุตริมนุสธรรม : [มะนุดสะทํา] น. คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการสําเร็จฌาน สําเร็จมรรคผลเป็นต้น. (ป. อุตฺตริ + มนุสฺส+ ธมฺม; ส. อุตฺตริ + มนุษฺย + ธรฺม).
  2. อุ่นใจ : ว. มีความรู้สึกสบายใจขึ้น, มีความมั่นใจ, ไม่มีกังวล, เช่น มีเงินมากอยู่ในกระเป๋าทำให้อุ่นใจ.
  3. อุ่นอกอุ่นใจ : ว. มีความรู้สึกสบายอกสบายใจและมีความมั่นใจขึ้น เช่น อยู่ใกล้ ๆ ผู้ใหญ่รู้สึกอุ่นอกอุ่นใจ.
  4. อุบะ : น. เป็นดอกไม้ที่ร้อยเป็นสายแล้วเข้าพวงอย่างพู่สำหรับห้อยกับ มาลัย ห้อยระหว่างเฟื่อง หรือห้อยประดับข้างหูเป็นต้น.
  5. อุบาสก : น. คฤหัสถ์ผู้ชายที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสก).
  6. อุบาสิกา : น. คฤหัสถ์ผู้หญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสิกา).
  7. อุปนิษัท : [อุปะ, อุบปะ] น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์ อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. (ส.).
  8. อุปริภาพ : น. ฐานะหรือความเป็นอยู่อย่างสูง. (ป., ส. อุปริภาว).
  9. อุปาทาน : [อุปาทาน, อุบปาทาน] น. การยึดมั่นถือมั่น, การนึกเอาเองแล้ว ยึดมั่นถือมั่นว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ๆ. (ป.).
  10. อุ้มชู : ก. ประคับประคอง, เลี้ยงดูอย่างยกย่อง.
  11. อุ้ยอ้าย : ว. ไม่คล่องแคล่ว, เคลื่อนตัวยากอย่างคนอ้วน.
  12. อุลกมณี : [อุนละกะมะนี] น. อุกกาบาตที่นำมาเจียระไนทำเป็นเครื่อง ประดับ เชื่อว่าเป็นเครื่องรางอย่างหนึ่ง.
  13. อุแว้ : ก. ร้อง (ใช้แก่เด็กแดง ๆ) เช่น เด็กคนนี้ พออุแว้ออกมาก็มีเงิน เป็นล้านแล้ว, แว้ ก็ว่า. ว. เสียงอย่างเสียงเด็กแดง ๆ ร้อง เช่น เสียงลูกร้องอุแว้, แว้ ก็ว่า.
  14. อู้ ๑ : ว. มีเสียงอย่างเสียงลมพัด; มาก ในคำว่า บ่นอู้. น. ชื่อซอ ๒ สาย ชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกซอทำด้วยกะลามะพร้าวชนิดกลมรี ใช้หนัง แพะหรือหนังลูกวัวขึงขึ้นหน้า คันสีหรือคันชักทำด้วยไม้จริงหรือ งา สายทำด้วยขนหางม้า มีเสียงทุ้มในเวลาสี เรียกว่า ซออู้.
  15. อูด ๒ : ก. นูนขึ้น เช่น นํ้าอูด, นูนเบ่งขึ้นมาในลักษณะอย่างดินอูด.
  16. อู้อี้ : ว. มีเสียงไม่ชัดเจนอย่างเสียงคนจมูกบี้หรือคนบ่น.
  17. อู๋อี๋ : ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงชักคันซอ.
  18. เอกจิต : [เอกะ] น. ความคิดจําเพาะถึงสิ่งอย่างเดียว, ความคิด อันหนึ่งอันเดียว, ความคิดต้องกัน, ความเห็นพ้องกัน. (ป., ส. เอกจิตฺต).
  19. เอกฉันท์ : [เอกกะ] ว. มีความเห็นเป็นอย่างเดียวกันหมด.
  20. เอกม : [เอกมอ] ว. เอกอย่างกลาง. (ตัดมาจาก เอกมัธยม).
  21. เอกรูป : [เอกกะ] น. รูปแบบอย่างเดียวกัน. (อ. uniform).
  22. เอกส : (โบ) [เอกสอ] ว. เอกอย่างสามัญ. (ตัดมาจาก เอกสามัญ).
  23. เอกสาร : [เอกกะ] น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน; (กฎ) กระดาษหรือ วัตถุอื่นใด ซึ่งได้ทําให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น จะเป็นโดยวิธีพิมพ์ ถ่ายภาพ หรือวิธีอื่น อันเป็นหลักฐานแห่งความหมายนั้น.
  24. เอกอุ : [เอก] ว. เอกเป็นเลิศ. (ตัดมาจาก เอกอุดม); มากมาย, หนักหนา, เช่น ทำผิดอย่างเอกอุ.
  25. เอกังสพยากรณ์ : [สะพะยากอน] น. ''การพยากรณ์โดยส่วนเดียว'' หมายถึง การ พยากรณ์เด็ดขาดเพียงสถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้ เช่น พราหมณ์ โกณฑัญญะพยากรณ์สิทธัตถราชกุมารว่าจะต้องออกบวชและ ตรัสรู้เป็นศาสดาเอกของโลกอย่างแน่นอน จัดเป็น เอกังสพยากรณ์, การตอบปัญหาที่ผู้ถามถามอย่างชัดเจนสามารถตอบได้อย่าง แจ่มแจ้งทันที.
  26. เอ๋ง : ว. เสียงอย่างเสียงหมาร้องเมื่อถูกตีเป็นต้น.
  27. เออ ๆ คะ ๆ : ก. รับฟังโดยไม่ขัดคอ, รับฟังไปตามเรื่องตามราว โดยไม่แสดงความคิดเห็น, เช่น ฉันก็เออ ๆ คะ ๆ ไปอย่างนั้นแหละ.
  28. เออน่ะ : อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อเน้นแสดงคํารับอย่างรู้สึกรําคาญ.
  29. เออแน่ะ : อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงว่า ไม่น่าจะเป็น อย่างนั้น.
  30. เอ้อเร้อ : ว. มากจนล้น (ใช้แก่กริยากิน), เอ้อเร้อเอ้อเต่อ ก็ว่า; มากเกินไป อย่างไม่เป็นระเบียบ.
  31. เอาจริง ๑, เอาจริงเอาจัง : ว. ตั้งใจทําอย่างจริงจัง, ถือเอาเป็นแน่นอน.
  32. เอาแต่ : ว. มุ่งเฉพาะอย่างเดียวเท่านั้น เช่น เอาแต่เรียน เอาแต่งาน เอาแต่กิน เอาแต่เล่น.
  33. เอาเป็นเอาตาย : ว. ตั้งใจทําอย่างจริงจังโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย หรือความยากลําบาก เช่น ทำงานอย่างเอาเป็นเอาตาย; เอาจริงเอาจัง อย่างรุนแรง เช่น เรื่องเล็ก ๆ แค่นี้ เถียงกันเอาเป็นเอาตายไปได้.
  34. เอาหัวเป็นประกัน : (สำ) ก. รับรองด้วยความมั่นอกมั่นใจ.
  35. เอี้ยมเฟี้ยม : ว. อาการที่นั่งเก็บมือเก็บเท้าอย่างเรียบร้อย, อาการที่หมอบเฝ้าหรือ หมอบคอยรับใช้อย่างเรียบร้อย.
  36. เอื๊อก : ว. เสียงดังในคออย่างเสียงดื่มน้ำแรง ๆ เช่น กลืนน้ำลายดังเอื๊อก.
  37. แอ้ด ๒ : น. เรียกของบางอย่างที่มีขนาดเล็กกว่าปรกติ เช่น รถถังอ้ายแอ้ด.
  38. แอด, แอด ๆ, แอ๊ด, แอ๊ด ๆ : ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดหรือปิดประตูฝืด ๆ.
  39. โอ ๓ : น. ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสําหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาด ต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูงว่า ขันโอ.
  40. โอ่ ๓ : ว. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด.
  41. โอ้ก : ก. อาเจียน. ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียน.
  42. โอ๊ก ๑ : ว. เสียงอย่างเสียงไก่ร้อง; อาการที่แสดงว่าเหลืออดเหลือทน เช่น ของแพงจนคนร้องโอ๊ก.
  43. โอ้กอ้าก : ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียนติดต่อกัน, โดยปริยายหมายถึง อาการของผู้หญิงที่แพ้ท้องหรืออาการของผู้ที่จะเป็นลม.
  44. โอโซน : น. แก๊สชนิดหนึ่ง สีนํ้าเงิน กลิ่นฉุน เป็นอัญรูปของธาตุออกซิเจน มีสูตร O3 ใช้ประโยชน์ฆ่าเชื้อโรคในนํ้าเพื่อใช้เป็นนํ้าดื่ม ใช้ฟอก จางสีของสารอินทรีย์บางอย่างเช่นเส้นใยที่ใช้ทอผ้า. (อ. ozone).
  45. โอด : น. ชื่อเพลงสำหรับใช้เป็นหน้าพาทย์บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบหรือตาย; วิธีดำเนินทำนองเพลงไทยอย่างหนึ่ง ซึ่งดำเนินไป โดยแช่มช้าโหยหวน และโศกซึ้ง. ก. ร้องไห้.
  46. โอละพ่อ : ว. กลับตรงกันข้าม อย่างกลับหน้ามือเป็นหลังมือ. น. คําขึ้นต้น ที่พวกระเบ็งร้องและรําในการมหรสพของหลวงเช่นพระราชพิธี โสกันต์.
  47. โอ่อ่า : ว. สะสวยอย่างมีสง่า เช่น แต่งตัวโอ่อ่า, ใหญ่โตหรูหรามาก เช่น บ้านช่องโอ่อ่า.
  48. โอ้เอ้ : น. เรียกการสวดกาพย์ลํานําเป็นทํานองอย่างที่นักเรียนสวดตาม ศาลารายวัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันเข้าพรรษา วันกลางพรรษา และวันออกพรรษา ว่า สวดโอ้เอ้วิหารราย. ว. ชักช้า.
  49. ไอ ๑ : น. สิ่งที่มีลักษณะอย่างควัน ลอยออกมาจากของที่ถูกความร้อน ทําให้ระเหย.
  50. ไอพิษ : น. แก๊สหรือไอที่มีสมบัติเป็นพิษอย่างร้ายแรง ใช้ในการสู้รบ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | [2351-2400] | 2401-2407

(0.0921 sec)