Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสัมพันธ์, สัมพันธ์, ความ , then ความ, ความสมพนธ, ความสัมพันธ์, สมพนธ, สมฺพนฺธ, สัมพันธ์ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความสัมพันธ์, 3289 found, display 1351-1400
  1. ปรัตถจริยา : [ปะรัดถะจะ-] น. ความประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น. (ป.).
  2. ปรัตยนต์ : [ปะรัดถะจะ-] น. ความประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น. (ป.). [ปฺรัดตะยัก] (โบ; กลอน) ว. ประจักษ์. (ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  3. ปรัตยูห์ : [ปฺรัดตะยู] (โบ; กลอน) น. อันตราย, ความขัดข้อง. (ส. ปฺรตฺยูห; ป. ปจฺจูห).
  4. ปรับทุกข์ : ก. บอกเล่าความทุกข์, พรรณนาถึงความทุกข์.
  5. ปรากรม : [ปะรากฺรม] น. ความเพียร, ความบากบั่น. (ส.).
  6. ปราชัย : [ปะราไช] น. ความพ่ายแพ้. ก. พ่ายแพ้. (ป.).
  7. ปราดเปรื่อง : ว. มีความคิดแคล่วคล่องว่องไว, เปรื่องปราด ก็ว่า.
  8. ปรานี : [ปฺรา-] ก. เอ็นดูด้วยความสงสาร.
  9. ปรานีปราศรัย : [ปฺรานีปฺราไส] ก. ปรานี (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย.
  10. ปราภพ : [ปะราพบ] น. ความฉิบหาย. (ป. ปราภว).
  11. ปราโมช : [ปฺราโมด] น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมทย์ ก็ใช้. (ป. ปาโมชฺช; ส. ปฺรโมทฺย)
  12. ปราโมทย์ : [ปฺราโมด] น. ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ, ปราโมช ก็ใช้. (ส. ปฺรโมทฺย; ป. ปาโมชฺช).
  13. ปริกัลป- : [ปะริกันละปะ-] น. ความตรึก, ความดําริ, ความกําหนดในใจ. (ส. ปริกลฺป; ป. ปริกปฺป).
  14. ปริกัลปมาลา : น. ระเบียบกริยาในไวยากรณ์ที่บอกความคาดหมาย ความกําหนด. (ส.).
  15. ปริญญา : [ปะรินยา] น. ความกําหนดรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบ; ชั้นความรู้ขั้น มหาวิทยาลัยซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามที่กําหนดไว้, ถ้า ประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณหรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร เรียกว่า ปริญญากิตติมศักดิ์. (ป.; ส. ปริชฺ?า).
  16. ปริตร : [ปะหฺริด] น. ความต้านทาน, เครื่องป้องกัน; พระพุทธมนต์ใน เจ็ดตํานานที่เรียกว่า สัตปริตร และสิบสองตํานานที่เรียกว่า ทวาทศปริตร, ตํานานหนึ่ง เรียกว่า ปริตรหนึ่ง. ว. น้อย. (ส.; ป. ปริตฺต).
  17. ปริเทวนะ, ปริเทวะ : [ปะริเทวะ-] น. ความครํ่าครวญ, ความรําพันด้วยเสียใจ, ความบ่นเพ้อ. (ป.).
  18. ปริปาก : ก. แย้มปากพูดออกมา (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าปริปากบอกใครนะ.
  19. ปริ่ม : [ปฺริ่ม] ว. เสมอขอบ, เสมอพื้น, (ในลักษณะอย่างนํ้าที่ขึ้นเสมอขอบ ตลิ่งหรือดอกบัวที่โผล่ขึ้นเสมอพื้นนํ้าเป็นต้น); อาการที่มีความยินดี ปลื้มใจ เช่น ปริ่มใจ ปริ่มยิ้ม ปริ่มเปรม.
  20. ปริมณฑล : [ปะริมนทน] น. วงรอบ; ความเรียบร้อย เช่น นุ่งห่มให้เป็นปริมณฑล. (ป.).
  21. ปริมาณ : [ปะริมาน] น. กําหนดความมากน้อยของจํานวน.
  22. ปริยาย : [ปะริ-] น. อย่าง, ทาง, หนทาง; การกล่าวอ้อมค้อม, นัยทางอ้อม, ตรงข้ามกับ นิปริยาย คือ อย่างตรง; การสอน, การเล่าเรื่อง. ว. อ้อม; (กฎ) หมายความถึงกรณีที่เจตนาในการกระทำมิได้แสดงออก อย่างชัดแจ้ง เป็นคำที่มีความหมายตรงกันข้ามกับคำว่าชัดแจ้ง. (ป.).
  23. ปริศนาอักษรไขว้ : น. ปริศนาที่จะต้องตอบโดยการเติมคําลงในตาราง สี่เหลี่ยมที่กําหนดให้ช่องละ ๑ อักษร แล้วให้อ่านได้ใจความทั้งในแนว ยืนและแนวนอน.
  24. ปริหาน : [ปะริ-] น. ความเสื่อมรอบ, ความเสื่อมทั่วไป. (ป.).
  25. ปรีชา : [ปฺรี-] น. ปัญญาสามารถ, ความรอบรู้จัดเจน. (ส. ปริชฺ?า; ป. ปริญฺ?า).
  26. ปรีดิ, ปรีดิ์, ปรีดี : [ปฺรี-, ปฺรี] น. ความอิ่มใจ, ความปลื้มใจ, ความยินดี. (ส. ปฺรีติ; ป. ปีติ).
  27. ปรีติ : [ปฺรี-] น. ปีติ, ความปลาบปลื้มใจ, ความอิ่มใจ. (ส.; ป. ปีติ).
  28. ปรึกษา : [ปฺรึกสา] ก. หารือ, ขอความเห็นแนะนํา, พิจารณาหารือกัน, พิจารณาอภิปรายกัน เช่น ประชุมปรึกษา, พิจารณาร่างคําพิพากษา เช่น ผู้ปรึกษา (ในทางศาล). น. เรียกความเห็นแนะนําที่ให้เนื่อง ด้วยการหารือว่า คําปรึกษา, เรียกผู้มีหน้าที่ให้ความเห็นแนะนําว่า ที่ปรึกษา, เรียกผู้รับหารือเพื่อให้ความเห็นแนะนําว่า ผู้รับปรึกษา. (ส. ปรีกฺษา).
  29. ปรู๊ฟ : [ปฺรู๊บ] น. เรียกกระดาษที่ใช้พิมพ์หนังสือ มีคุณภาพตํ่ากว่ากระดาษ ปอนด์และกระดาษอาร์ต ว่า กระดาษปรู๊ฟ; งานพิมพ์เป็นต้นเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย. (ปาก) ก. พิสูจน์อักษร.
  30. ปลง : [ปฺลง] ก. เอาลง เช่น ปลงหม้อข้าว, ปล่อยหรือเปลื้องให้พ้นไป (ในลักษณะที่รู้สึกว่าหนักอยู่) เช่น ปลงหาบ; เมื่อใช้ประกอบกับ คําอื่น มีความหมายต่าง ๆ.
  31. ปลงธรรมสังเวช : [ปฺลงทํามะสังเวด] ก. เกิดความสังเวชโดยธรรม เมื่อเห็นความแตกดับของสังขาร (ใช้แก่พระอริยบุคคล).
  32. ปลงอาบัติ : ก. แสดงความผิดของตนเพื่อเปลื้องโทษทางวินัย (ใช้แก่พระภิกษุ).
  33. ปล้นทรัพย์ : (กฎ) ก. ชื่อความผิดอาญาสถานหนึ่ง ซึ่งผู้ชิงทรัพย์ร่วม กระทําความผิดด้วยกันตั้งแต่ ๓ คนขึ้นไป เรียกว่า ความผิดฐาน ปล้นทรัพย์.
  34. ปลอกคอ : น. สายรัดรอบคอ (มักใช้แก่หมา); โดยปริยายหมายถึง ผู้มีอํานาจที่คอยให้ความคุ้มครองหรือช่วยเหลือ.
  35. ปลอดโปร่ง : ว. ผ่องใสปราศจากความขุ่นมัว.
  36. ปล้อน : [ปฺล้อน] ก. ปลิ้นเปลือกหรือเมล็ดในผลไม้ออกจากปาก เช่น ปล้อน เมล็ดลําไย ปล้อนเมล็ดน้อยหน่า, ลอกเปลือกผลไม้ออก เช่น ปล้อน มะพร้าว, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปลิ้น เป็น ปล้อนปลิ้น หรือ ปลิ้นปล้อน มีความหมายอย่างปล้อน; โดยปริยายหมายความว่า ใช้อุบายล่อลวง เพื่อให้สำเร็จประโยชน์ตน.
  37. ปล่อยไก่ : (ปาก) ก. แสดงความโง่ออกมา.
  38. ปล่อยนกปล่อยกา : (สํา) ก. ปล่อยให้เป็นอิสระ, ไม่เอาผิด, ปล่อยให้พ้น จากความผูกพัน, ปล่อยลูกนกลูกกา ก็ว่า.
  39. ปลาดำปลาแดง : น. เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๓ อัน ทาสีดำ สีแดง และ สีขาว เจ้ามือกำไม้ทั้ง ๓ อันไว้ แล้วใช้ความไวปัดไม้อันหนึ่งลง ในกล่อง ให้ลูกค้าแทงสี ถ้าแทงผิดเจ้ามือกิน, ไม้ดำไม้แดง หรือ อีดำอีแดง ก็เรียก.
  40. ปลาตกน้ำตัวโต : (สํา) น. สิ่งที่เสียหรือสูญหายไปมักดูมีค่ามากเกิน ความเป็นจริง.
  41. ปลาบปลื้ม : ก. มีความรู้สึกยินดีแล่นวาบเข้าในใจ.
  42. ปลายแถว : น. คนที่อยู่ท้ายแถว, โดยปริยายหมายถึงผู้น้อย, ผู้ที่มีความสำคัญน้อย, หางแถว ก็ว่า.
  43. ปลิโพธ : [ปะลิโพด] น. ความกังวล, ความห่วงใย. (ป.).
  44. ปลิว : [ปฺลิว] ก. ลอยตามลม, ถูกลมพัด, (ใช้แก่สิ่งที่มีลักษณะเบา), โดย ปริยายใช้เป็นคําเปรียบเทียบ มีความหมายคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินตัวปลิว.
  45. ปลุก : [ปฺลุก] ก. ทําให้ตื่นจากหลับ, ทําให้ได้สติรู้สึกตัว, กระตุ้นให้เกิด แรงกําลัง ความขลัง และความกล้าแข็ง เป็นต้น.
  46. ปลุกพระ : ก. บริกรรมคาถาเสกพระเครื่องเพื่อให้เกิดความขลัง.
  47. ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ : (สํา) ก. ทําตามความพอใจของผู้ที่จะได้รับผล โดยตรง, มักพูดเข้าคู่กับ ผูกอู่ตามใจผู้นอน เป็น ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน.
  48. ป่วย : ก. รู้สึกไม่สบายเพราะโรคหรือความไข้หรือเหตุอื่นที่ทําให้รู้สึก เช่นนั้น.
  49. ปวัตน-, ปวัตน์ : [ปะวัดตะนะ-, ปะวัด] น. ความเป็นไป. (ป.).
  50. ปวารณา : [ปะวาระนา] ก. ยอมให้ภิกษุสามเณรขอหรือเรียกร้องเอาได้ เช่น ขอของจากผู้ปวารณา ใบปวารณา; บอกยอมให้ใช้ได้ด้วยความ เต็มใจ เช่น ขอปวารณาจะใช้อะไรก็บอก; พิธีกรรมทางศาสนา ยอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ ทําในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันออกพรรษา, เรียกวันออกพรรษาว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา. (ป.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3289

(0.1601 sec)