Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 1401-1450
  1. นิาต : [าด] น. เรียกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งที่รวรวม พระสูตรเ็ดเตล็ดหรือชาดกต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เช่น สุตตนิาต = คัมภีร์ ที่รวรวมพระสูตรเ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน นิาตชาดก = คัมภีร์ที่ รวรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแ่งย่อยเป็น หมวดต่าง ๆ; หมวดธรรม, ชุมนุมหลักธรรม, เช่น เอกนิาต = หมวด หรือชุมนุมหลักธรรมที่มี ๑ ข้อ ทุกนิาต = หมวดหรือชุมนุมหลักธรรม ที่มี ๒ ข้อ; (ไว)ศัพท์ประเภทหนึ่ง สำหรัใช้เติมลงข้างหน้าหรือ ข้างหลังคำหรือข้อความเพื่อเน้นความไขความ ยอมความอย่างไม่เต็มใจ เป็นต้น เช่น ก็ดี ก็ตาม หรือใช้เป็นคำขึ้นต้นข้อความใหม่ต่อจาก ข้อความเดิม เช่น ก็แหละ. (ป., ส. นิปาต).
  2. นิปริยาย : [นิปะริยาย] (แ) น. ความไม่อ้อมค้อม, ความตรง. (ตรงกันข้ามกั ปริยาย = อย่างอ้อม). ว. สิ้นเชิง. (ป. นิปฺปริยาย).
  3. นิปัจการ : [นิปัดจะกาน] น. การเคารพ. (ป. นิปจฺจการ).
  4. นิพนธ์ : น. เรื่องที่แต่งขึ้น, (ราชา) พระนิพนธ์, พระราชนิพนธ์. ก. ร้อยกรอง ถ้อยคํา, แต่งหนังสือ, (ราชา) ทรงนิพนธ์, ทรงพระนิพนธ์, ทรงพระราช นิพนธ์. (ป., ส. นิพนฺธ).
  5. นิพพาน : [นิพาน] น. ความดัสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์. ก. ดักิเลสและ กองทุกข์, ตาย (ใช้แก่พระอรหันต์). (ป.; ส. นิรฺวาณ), โราณใช้ว่า นิรพาณ ก็มี. (จารึกสยาม).
  6. นิพพิทา : [นิพิทา] น. ความเื่อหน่ายในกองทุกข์. (ป.).
  7. นิพพิทาญาณ : น. ความรู้ที่ทําให้เื่อหน่ายในกองทุกข์. (ป.).
  8. นิพัทธ, นิพัทธ์ : [นิพัดทะ, นิพัด] (แ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
  9. นิพันธ์ : น. นิพนธ์, เรื่องที่แต่งขึ้น. ก. ร้อยกรองถ้อยคํา, แต่งหนังสือ. (ป., ส.).
  10. นิพิท, นิเพท : [นิพิด, นิเพด] (แ) ก. ให้รู้ชัด, อก. (ป. นิ + วิท).
  11. นิภา : น. แสง, แสงสว่าง. (ป., ส.). (แ) ก. เทียม, เสมอ, เทีย. (ป., ส. นิภ).
  12. นิมนต์ : ก. เชิญ, เชื้อเชิญ, (ใช้แก่พระภิกษุและสามเณร). (ป. นิมนฺต; ส. นิมนฺตฺร).
  13. นิมมาน : น. การสร้าง, การแปลง, การทํา, การวัดส่วน. (ป.; ส. นิรฺมาณ).
  14. นิมมานรดี : [นิมมานะระดี, นิมมานอระดี] น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี, มีท้าวสุนิมมิตเป็นผู้ครอง, ในทกลอนใช้ว่า นิมมานรดีต ก็มี เช่น ช่อชั้นนิมมานรดีต. (อิเหนา). (ป.; ส. นิรฺมาณ + รติ).
  15. นิมิต ๑ : ก. นิรมิต, สร้าง, แปลง, ทํา. (ป. นิมฺมิต; ส. นิรฺมิต).
  16. นิมิต ๒ : น. เครื่องหมาย, ลาง, เหตุ, เค้ามูล; (แ) อวัยวะสืพันธุ์. (ป., ส. นิมิตฺต).
  17. นิยต, นิยต : [ยด, ยะตะ] (แ) ก. กําหนด เช่น พระพเนจรจรหลํ่า ได้หลายคํ่า หลายวัน ถึงแดนอันจะนิยต. (ลอ). (แ) ว. เที่ยง, แท้, แน่. (ป., ส.); (การศึกษา) ตระหนักแน่, เป็นที่ยอมรั, เชิงสร้างสรรค์, ทางวก. (อ. positive).
  18. นิยม : (แ) น. การกําหนด. (ป., ส.). ก. ชมชอ, ยอมรันัถือ, ชื่นชมยินดี, ถ้าใช้ประกอท้ายคําสมาสางคํามีความหมายว่า ลัทธิ เช่น ชาตินิยม สังคมนิยม.
  19. นิยยานะ : [นิยะ] (แ) น. การนําออกไป, การออกไป. (ป.; ส. นิรฺยาณ).
  20. นิยยานิก : [นิยะยานิกะ] (แ) ว. ที่นําออกไปจากทุกข์ เช่น นิยยานิกธรรม คือ ธรรมที่นําสัตว์ออกจากทุกข์. (ป., ส. นิรฺยาณิก).
  21. นิยาม : [ยาม] (แ) น. การกําหนด, ทาง, อย่าง, วิธี. ก. กําหนดหรือจํากัด ความหมายที่แน่นอน. (ป., ส.).
  22. นิยุต ๑ : (แ) น. สังขยาจํานวนสูงเท่ากัล้าน. (ป.).
  23. นิยุต ๒ : (แ) ก. ประกอ, เทียม, ทําให้แน่น. (ป. นิยุตฺต).
  24. นิรมิต : [ระมิด] ก. นิมิต, เนรมิต, สร้าง, แปลง, ทํา, ันดาลให้เป็นขึ้นมีขึ้น. (ส. นิรฺมิต; ป. นิมฺมิต).
  25. นิรย : [ระยะ] (แ) น. นรก. (ป.).
  26. นิรยาล : น. ผู้คุมนรก. (ป.).
  27. นิระ : (แ) น. นํ้า. (ป., ส. นีร).
  28. นิรัติศัย : [รัดติไส] (แ) ว. พิเศษยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. (ส. นิรฺ + อติศย). นิรันดร, นิรันตร [รันดอน, รันตะระ] ว. ตลอดไปไม่เว้นว่าง, ติดต่อกันตลอดไป. (ป.).
  29. นิรันตราย : [รันตะราย] (แ) ว. ปราศจากอันตราย. (ป.).
  30. นิรัพพุท : [รัพุด] น. สังขยาจํานวนสูง เท่ากั ๑ มี ๐ ตามหลัง ๖๓ ตัว ้างว่า ๑๐๐ ล้าน. (ป.).
  31. นิราพาธ : [พาด] (แ) ว. ไม่มีความเจ็ไข้. (ป., ส.).
  32. นิรามัย : [ไม] (แ) ว. ไม่มีโรค, สาย, เป็นสุข. (ป., ส.).
  33. นิราลัย : [ไล] (แ) ว. ไม่มีที่อยู่, ไม่มีที่ห่วงใย. (ป.).
  34. นิราศ ๒ : [ราด] ก. ปราศจากความหวัง, ไม่มีความต้องการ, หมดอยาก, เฉยอยู่. (ส.; ป. นิราสา).
  35. นิรินธน์ : [ริน] (แ) ว. ไม่มีเชื้อ (ใช้แก่ไฟ). (ป.).
  36. นิรุกติ : น. ภาษา, คําพูด. (ส.; ป. นิรุตฺติ).
  37. นิรุตติ : น. ภาษา, คําพูด. (ป.; ส. นิรุกฺติ).
  38. นิรุตติปฏิสัมภิทา : น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉาน ในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด. (ป.).
  39. นิรุทกะ : [รุทะกะ] (แ) ว. ไม่มีนํ้า. (ป.).
  40. นิรุทธ์ : (แ) ก. ดัแล้ว. (ป.).
  41. นิโรช : [นิโรด] (แ) ว. ไม่มีรส, ไม่อร่อย, จืด. (ป.).
  42. นิโรธ, นิโรธ : [นิโรด, นิโรดทะ] (แ) น. ความดั; นิพพาน. (ป.).
  43. นิโรธสมาัติ : [นิโรดทะสะมาัด, นิโรดสะมาัด] (แ) น. การเข้าสู่ นิโรธ เป็นวิธีพักผ่อนของพระอรหันต์. (ป. นิโรธสมาปตฺติ).
  44. นิล ๑, นิล : [นิน, นินละ] น. พลอยชนิดหนึ่ง มีสีดํา ถ้าสีนํ้าเงินแก่ เรียก นิลสีดอก ผักต. ว. สีอย่างนิล เรียกว่า สีนิล เช่น ตาสีนิล. (ป., ส. นีล).
  45. นิลุล, นิโลต : [น, โลดน] น. ัวขา. (ป. นีลุปฺปล; ส. นีโลตฺปล).
  46. นิวรณ์ : น. สิ่งห้ามกันจิตไว้มิให้รรลุความดี มี ๕ ประการ คือ ความพอใจ รักใคร่ ๑ ความพยาาท ๑ ความง่วงเหงาหาวนอน ๑ ความฟุ้งซ่าน รําคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. (ป.).
  47. นิวัต, นิวัตน์ : [วัด] (แ) ก. กลั. (ป. นิวตฺต, นิวตฺตน).
  48. นิวาต : [วาด] (แ) ว. สงัดลม, สงัด; เสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ. (ป.).
  49. นิวาส : [วาด] (แ) น. ที่อยู่อาศัย, ที่พัก. (ป.).
  50. นิเวศ, นิเวศ, นิเวศน์ : [นิเวด, นิเวดสะ] (แ) น. ที่อยู่, ้าน, วัง. (ส.; ป. นิเวสน).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1031 sec)