Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 1751-1800
  1. ปรตยักษ์ : [ปฺรดตะยัก] (กลอน) ก. ประจักษ์. (ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  2. ปรตยาค : [ปฺรดตะยาก] (กลอน) ก. ประจาค, ริจาค. (ส. ปฺรตฺยาค; ป. ปริจฺจาค).
  3. ปรตเยก : [ปฺรดตะเยก] (กลอน) ว. ปัจเจก. (ส. ปฺรเตฺยก; ป. ปจฺเจก).
  4. ปรม- : [ปะระมะ-, ปอระมะ-] ว. อย่างยิ่ง (ใช้นําหน้าคําอื่นโดยมาก). (ป.).
  5. ปรมัตถ์ : [ปะระมัด, ปอระมัด] น. ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความ อย่างยิ่ง, ความจริงอันเป็นที่สุด; ชื่อพระอภิธรรมปิฎก. ว. ลึกซึ้ง ยากที่ปุถุชนจะเข้าใจได้ เช่น นี่เป็นเรื่องปรมัตถ์. (ป.). ปรมาจารย์ [ปะระมาจาน, ปอระมาจาน] น. อาจารย์ผู้เป็นเอกหรือ ยอดเยี่ยมในทางวิชาใดวิชาหนึ่ง.
  6. ปรมาณู : [ปะระ-, ปอระ-] น. ส่วนของสารที่มีขนาดเล็กที่สุดจน ไม่สามารถจะแยกย่อยได้อีกด้วยวิธีเคมี. (ป., ส. ปรมาณุ).
  7. ปรมาภิไธย : [ปะระมาพิไท, ปอระมาพิไท] น. ชื่อ (ใช้เฉพาะ พระาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลง พระปรมาภิไธย. (ป. ปรมาภิเธยฺย).
  8. ปรศุ : [ปะระสุ] น. ขวาน. (ส.; ป. ผรสุ).
  9. ปรหิตะ : [ปะระหิตะ, ปอระหิตะ] น. ประโยชน์ผู้อื่น, มักใช้ควกั ประโยชน์ เป็น ปรหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น. (ป. ปรหิต).
  10. ปรอท : [ปะหฺรอด] น. ธาตุลําดัที่ ๘๐ สัญลักษณ์ Hg เป็นโลหะ ลักษณะ เป็นของเหลว สีเงิน แข็งตัวที่ -๓๘.๓๖?ซ. เดือดที่ ๓๕๗?ซ. ใช้ ประโยชน์นําไปทําเทอร์โมมิเตอร์ ารอมิเตอร์ โลหะเจือซึ่งเรียกว่า อะมัลกัม (amalgam) ใช้ในงานทันตกรรมและทําเครื่องมือวิทยาศาสตร์ อื่น ๆ สารประกอของปรอทเป็นพิษ แต่างอย่างใช้เป็นยาได้. (อ. mercury); (ปาก) เครื่องวัดอุณหภูมิ; โดยปริยายหมายถึงอาการ ที่เป็นไปอย่างรวดเร็วว่องไว เช่น ไวเป็นปรอท. (ป., ส. ปารท).
  11. ประกฤต : [-กฺริด] (แ) ก. ทํา, ทํามาก. (ส. ปฺรกฺฤต; ป. ปกต).
  12. ประกฤติ : [-กฺริด, -กฺริติ] (แ) น. มูลเดิม, ที่เกิด, รากเหง้า; ความเป็นไป ตามธรรมดา, ความเป็นไปตามปรกติ, ลักษณะ; กฎ, เกณฑ์, แเดิม. (ส. ปฺรกฺฤติ; ป. ปกติ).
  13. ประการ : น. อย่าง เช่น จะทําประการไร, ชนิด เช่น หลายประการ; ทํานอง, แ, เช่น ด้วยประการฉะนี้. (ส. ปฺรการ; ป. ปการ).
  14. ประกาศ : ก. ป่าวร้อง, แจ้งให้ทรา, เช่น ประกาศงานุญงานกุศล. น. ข้อความที่แจ้งให้ทราทั่วกัน เช่น ประกาศของวัด ประกาศของ ริษัท; (กฎ) ข้อความที่ทางราชการแจ้งให้ประชาชนทราหรือ วางแนวทางให้ปฏิัติ เช่น ประกาศพระรมราชโองการ ประกาศ กระทรวง ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี. (ส. ปฺรกาศ; ป. ปกาส).
  15. ประกีรณกะ, ประเกียรณกะ : [ปฺระกีระนะกะ, ปฺระเกียนระนะกะ] ว. เรี่ยราย, เ็ดเตล็ด, กระจาย, ระคนกัน, คละกัน. (ส. ปฺรกีรฺณก; ป. ปกิณฺณก).
  16. ประคุณ : (แ) ก. คล่องแคล่ว, ชํานาญ. (ส. ปฺรคุณ ว่า ตรง, สัตย์ซื่อ, ซื่อตรง; ป. ปคุณ).
  17. ประเคราะห์ : (แ) น. ความเพียรที่แก่กล้า; การยกย่อง, การเชิดชู, ตรงข้ามกั นิเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การกํารา, การลงโทษ, การข่มขี่. ก. ยกย่อง, ประคัประคอง. (ส. ปฺรคฺรห; ป. ปคฺคห).
  18. ประจักษ-, ประจักษ์ : ว. ปรากฏชัด อาจเป็นทางตาหรือใจก็ได้ เช่น ประจักษ์แก่ตา ประจักษ์แก่ใจ. (ส. ปฺรตฺยกฺษ; ป. ปจฺจกฺข).
  19. ประจาค : ก. สละ, ให้. (ป. ปริจฺจาค; ส. ปฺรตฺยาค).
  20. ประจุคมน์ : ก. ลุกขึ้นต้อนรั. (ป. ปจฺจุคฺคมน).
  21. ประจุัน : น. ปัจจุัน. (ป. ปจฺจุปฺปนฺน; ส. ปฺรตฺยุตฺปนฺน).
  22. ประเจก : ว. ปัจเจก, เฉพาะตัว, เฉพาะผู้เดียว. (ป. ปจฺเจก; ส. ปฺรเตฺยก).
  23. ประชา : น. หมู่คน เช่น ปวงประชา. (ส.; ป. ปชา).
  24. ประชาธิปไตย : [ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิปะไต] น. ระการ ปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่. (ส. ปฺรชา + ป. อธิปเตยฺย).
  25. ประณาม ๑ : ก. น้อมไหว้ เช่น ขอประณามาทงสุ์พระทรงศรี. (ส. ปฺรณาม; ป. ปณาม).
  26. ประณาม ๒ : ก. กล่าวร้ายให้เขาเสียหาย เช่น ถูกประณามว่าเป็นคนโกง; ขัไล่. (ส. ปฺรณาม; ป. ปณาม).
  27. ประณิธาน : น. การตั้งความปรารถนา. (ส. ปฺรณิธาน; ป. ปณิธาน).
  28. ประณิธิ : น. การตั้งความปรารถนา. (ส. ปฺรณิธิ; ป. ปณิธิ).
  29. ประณีต : ว. ละเอียดลออ, เรียร้อยงดงาม, เช่น ฝีมือประณีต ทําอย่าง ประณีต, ที่ปรุงอย่างสุดฝีมือด้วยของดี ๆ เช่น ปรุงอาหารอัน ประณีต. (ส. ปฺรณีต; ป. ปณีต).
  30. ประณุท : [ปฺระนุด] ก. รรเทา, ระงั. (ส. ปฺรณุท; ป. ปนุท).
  31. ประดาก : น. ธงผืนผ้า. (ส. ปตาก; ป. ปฏาก).
  32. ประดาป : น. ความร้อน, ความร้อนใจ, ความร้อนรน; อํานาจ, ความเป็นใหญ่, เกียรติยศ. (ส. ปฺรตาป; ป. ปตาป).
  33. ประดิษฐ-, ประดิษฐ์ : [ปฺระดิดถะ-, ปฺระดิด] ก. ตั้งขึ้น, จัดทําขึ้น, คิดทําขึ้น, สร้างขึ้น, แต่งขึ้น. ว. ที่จัดทําขึ้นให้เหมือนของจริง เช่น ดอกไม้ประดิษฐ์, ที่คิดทำขึ้นไม่เหมือนธรรมชาติ เช่น ลายประดิษฐ์. (ส. ปฺรติษฺ?; ป. ปติฏฺ?).
  34. ประดิษฐาน : [ปฺระดิดสะถาน] ก. ตั้งไว้ (ใช้แก่สิ่งที่เคารพนัถือ) เช่น นําพระพุทธรูป ไปประดิษฐานไว้ในโสถ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา, แต่งตั้งไว้ใน ตําแหน่งสูง เช่น ประดิษฐานไว้ในตําแหน่งอัครมเหสี. (ส. ปฺรติษฺ?าน; ป. ปติฏฺ?าน).
  35. ประเดยก : [ปฺระดะเหฺยก] (แ) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก. (ม. คําหลวง วนปเวสน์). (ส. ปฺรเตฺยก; ป. ปจฺเจก).
  36. ประติชญา : [ปฺระติดชะยา] น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺ?า; ป. ปฏิญฺ?า).
  37. ประติทิน : น. ปฏิทิน. (ส. ปฺรติ + ทิน; ป. ปฏิ + ทิน).
  38. ประติมากรรม : [ปฺระติมากํา] น. ศิลปะสาขาหนึ่งในจําพวกวิจิตรศิลป์เกี่ยวกัการ แกะสลักไม้ หินอ่อน โลหะ เป็นต้น ให้เป็นรูปหรือลวดลายต่าง ๆ. (ส. ปฺรติมา + กรฺม; ป. ปฏิมา + กมฺม).
  39. ประติศรัพ : [ปฺระติสั] น. ปฏิสวะ. (ส.; ป. ปฏิสฺสว).
  40. ประทีป : น. ไฟที่มีเปลวสว่าง (หมายเอาตะเกียง ไฟเทียน เป็นต้น), ตะเกียง, โคม. (ส. ปฺรทีป; ป. ปทีป).
  41. ประทุฐ : [ปฺระทุด] ว. ชั่ว, ร้าย. (ป. ปทุฏฺ?).
  42. ประทุมราค : [ปฺระทุมมะราก] น. ปัทมราค, พลอยสีแดง, ทัทิม, เช่น แขกเต้าตาก ปีกปาก ประทุมราคแดงฉัน. (เสือโค). (ป. ปทุมราค; ส. ปทฺมราค).
  43. ประเทศ : น. ้านเมือง, แว่นแคว้น; คำเพิ่มข้างหลังของคำเดิม เมื่อเพิ่มแล้ว ความหมายคงเดิม เช่น อุรประเทศ หทัยประเทศ. (ส.; ป. ปเทส); (กฎ) ชุมนุมแห่งมนุษย์ซึ่งตั้งมั่นอยู่ในดินแดนอันมีอาณาเขตแน่นอน มีอํานาจอธิปไตยที่จะใช้ได้อย่างอิสระ และมีการปกครองอย่างเป็น ระเียเพื่อประโยชน์ของรรดามนุษย์ที่อยู่ร่วมกันนั้น, รัฐ ก็เรียก.
  44. ประธาน ๓ : น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้าป เกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนา ประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. (ส. ปฺรธาน; ป. ปธาน).
  45. ประนัปดา : [ปฺระนัดา] น. เหลน (คือ ลูกของหลานปู่). (ส. ปฺรนปฺตฺฤ; ป. ปนตฺตา)
  46. ประปา : น. นํ้าที่เกรอะกรองให้สะอาดปราศจากเชื้อโรคแล้วจ่ายไปให้ ประชาชนริโภคใช้สอย เรียกว่า นํ้าประปา, เรียกรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีหน้าที่จัดทําและจําหน่ายนํ้าประปาว่า การประปา, เรียกสิ่ง อื่น ๆ ที่เกี่ยวกัการนี้ เช่น ก๊อกประปา ท่อประปา. (ส. ปฺรปา; ป. ปปา).
  47. ประพนธ์ : น. คําร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. ก. ประพันธ์, ร้อยกรอง, ผูก, แต่ง, เรียเรียง; เกี่ยวเนื่อง. (ส. ปฺรพนฺธ; ป. ปพนฺธ).
  48. ประพฤติ : [ปฺระพฺรึด] น. ความเป็นไปอันเกี่ยวด้วยการกระทําหรือปฏิัติตน, การทําตาม, เหตุต้นเค้า. ก. ทําตาม, ปฏิัติ, เช่น ประพฤติธรรม; กระทํา, ดําเนินตน, ปฏิัติตน, เช่น ประพฤติดี ประพฤติชั่ว. (ส. ปฺรวฺฤตฺติ; ป. ปวุตฺติ).
  49. ประพฤทธิ์ : [ปฺระพฺรึด] ว. เจริญ, โต, ใหญ่, รุ่งเรือง, งอกงาม. (ส. ปฺรวฺฤทฺธิ; ป. ปวุฑฺฒิ).
  50. ประพันธ์ : ก. แต่ง, เรียเรียง, ร้อยกรอง, ผูกถ้อยคําเป็นข้อความเชิงวรรณคดี. (ส. ปฺรพนฺธ; ป. ปพนฺธ).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | [1751-1800] | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1010 sec)