Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 1951-2000
  1. ปเวณี : [ปะ-] น. ขนธรรมเนียม, แแผน; เชื้อสาย, การเป็นสามีภรรยากัน ตามธรรมเนียม. (ป.; ส. ปฺรเวณิ).
  2. ปเวส, ปเวสน์ : [ปะเวด] น. ประเวศ, ประเวศน์. (ป.; ส. ปฺรเวศ, ปฺรเวศน).
  3. ปศุ : [ปะสุ] น. สัตว์เลี้ยงสําหรัใช้แรงงาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย างทีก็รวมถึงสัตว์เลี้ยงที่ใช้เป็นอาหารด้วย เช่น แพะ แกะ หมู, มักใช้ประกอคํา สัตว์ เป็น ปศุสัตว์. (ส.; ป. ปสุ).
  4. ปสพ : [ปะส] (แ) น. สัตว์เลี้ยง; ของที่เกิดขึ้น, ของที่มีขึ้น; ดอกไม้, ลูกไม้. (ป. ปสุ, ปสว).
  5. ปสันน-, ปสันนะ : [ปะสันนะ] (แ) ก. เลื่อมใส. (ป.).
  6. ปสันนาการ : น. อาการเลื่อมใส. (ป.).
  7. ปสัยห-, ปสัยหะ : [ปะไสหะ] (แ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ป.).
  8. ปสัยหาการ : น. การข่มเหง. (ป.).
  9. ปสาท : [ปะ-] น. ประสาท. (ป.; ส. ปฺรสาท).
  10. ปสาสน์ : [ปะ-] น. ประศาสน์. (ป.; ส. ปฺรศาสน).
  11. ปสุ : [ปะสุ] น. ปศุ. (ป.; ส. ปศุ).
  12. ปสุต : [ปะ-] ก. ประสูต. (ป.; ส. ปฺรสูต).
  13. ปสูติ : [ปะสูด] น. ประสูติ. (ป.; ส. ปฺรสูติ).
  14. ปหังสนะ, ปหังสะ : [ปะหังสะนะ, -สะ] น. การรื่นเริง. (ป.).
  15. ปหาน : [ปะ-] ก. ละทิ้ง. (ป.; ส. ปฺรหาณ).
  16. ปหาร : [ปะ-] น. ประหาร. (ป.; ส. ปฺรหาร).
  17. ปหาส : [ปะ-] น. ประหาส. (ป.; ส. ปฺรหาส).
  18. ปักข-, ปักข์ : [ปักขะ-, ปัก] น. ปักษ์. (ป.; ส. ปกฺษ).
  19. ปักษ-, ปักษ์ : [ปักสะ-, ปัก] น. ฝ่าย, ข้าง, เช่น ปักษ์ใต้, กึ่งของเดือนจันทรคติ คือ เดือนหนึ่งมี ๒ ปักษ์ ข้างขึ้นเรียก ศุกลปักษ์ (แปลว่า ฝ่ายขาว หมายเอาแสงเดือนสว่าง) ข้างแรมเรียก กาฬปักษ์ (แปลว่า ฝ่ายดํา หมายเอาเดือนมืด), ครึ่งเดือน เช่น หนังสือรายปักษ์. (ส.; ป. ปกฺข).
  20. ปัคหะ : [ปักคะ-] (แ) น. ประเคราะห์, การยกย่อง. (ป. ปคฺคห).
  21. ปังสุ์ : (แ) น. งสุ์. (ป.).
  22. ปังสุกุล : (แ) น. ังสุกุล. (ป.).
  23. ปัจจัตตะ : (แ) ว. เฉพาะตน. (ป.).
  24. ปัจจัตถรณ์ : [-ถอน] (แ) น. รรจถรณ์. (ป.).
  25. ปัจจันตคาม : น. ้านปลายเขตแดน. (ป.).
  26. ปัจจันตประเทศ : น. ประเทศปลายเขตแดน, ในวินัยหมายถึงที่อยู่ นอกออกไปจากมัชฌิมประเทศ. (ป.).
  27. ปัจจันต-, ปัจจันต์ : [ปัดจันตะ-, ปัดจัน] (แ) ว. ที่สุดแดน, ปลายเขตแดน. (ป.).
  28. ปัจจัย : น. เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล, หนทาง, เช่น การศึกษาเป็นปัจจัย ให้เกิดความรู้ความสามารถ, องค์ประกอ, ส่วนประกอ, เช่น ปัจจัยในการผลิต, คำ ''ปัจจัย'' กั คํา ''เหตุ'' มักใช้แทนกันได้; เครื่องอาศัยยังชีพ, เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของรรพชิตใน พระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) ิณฑาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) รวมเรียกว่า จตุปัจจัย คือ ปัจจัย ๔, คือ ปัจจัย ๔, โดยปริยายหมายถึงเงินตราก็ได้ (มักใช้ แก่ภิกษุสามเณร); (ไว)ส่วนเติมท้ายธาตุหรือศัพท์เพื่อแสดง ความหมายเป็นต้น. (ป.).
  29. ปัจจามิตร : น. ข้าศึก, ศัตรู. (ส. ปจฺจามิตฺร; ป. ปจฺจามิตฺต).
  30. ปัจจุคมน์ : น. การลุกขึ้นรั, การต้อนรั, (สําหรัผู้น้อยแสดงต่อผู้ใหญ่). (ป. ปจฺจุคฺคมน).
  31. ปัจจุทธรณ์ : [ปัดจุดทอน] (แ) น. การถอนคืน. ก. ถอนคืน (ในวินัยใช้คู่กั อธิษฐาน ซึ่งแปลว่า ตั้งใจ เช่น อธิษฐานสง คือตั้งใจให้เป็นสง ครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสงครองก็ถอนคืนสงนั้น เรียกว่า ปัจจุทธรณ์สง). (ป.).
  32. ปัจจุัน : น. เวลาเดี๋ยวนี้, ทันที, เวลาไม่ใช่อดีต ไม่ใช่อนาคต เช่น เวลาปัจจุัน, สมัยใหม่ เช่น แพทย์แผนปัจจุัน; เรียกโรคภัยที่เกิดขึ้นในทันที ทันใดว่า โรคปัจจุัน เช่น โรคลมปัจจุัน. (ป. ปจฺจุปฺปนฺน).
  33. ปัจจุสกาล, ปัจโจสกาล : [ปัดจุดสะกาน, ปัดโจสะ-] น. เวลาเช้ามืด. (ป.).
  34. ปัจจุส-, ปัจจูสะ : [ปัดจุดสะ-, ปัดจูสะ] (แ) น. เช้ามืด, ใกล้รุ่ง. (ป.).
  35. ปัจจุสมัย : [ปัดจุดสะไหฺม] น. เวลาเช้ามืด. (ป. ปจฺจูสสมย).
  36. ปัจจูหะ : (แ) น. ปรัตยูห์, อันตราย, ความขัดข้อง. (ป.).
  37. ปัจเจก, ปัจเจก- : [ปัดเจก, ปัดเจกะ-, ปัดเจกกะ-] (แ) ว. เฉพาะตัว, เฉพาะุคคล, เช่น ปัจเจกชน. (ป.).
  38. ปัจเจกพุทธะ : [ปัดเจกกะ-] น. ชื่อพระพุทธเจ้าพวกหนึ่งที่ตรัสรู้ เฉพาะตัว มิได้สั่งสอนผู้อื่น. (ป.).
  39. ปัจเจกโพธิ : [ปัดเจกกะโพด] น. ความตรัสรู้เฉพาะตัว คือ ความตรัสรู้ ของพระปัจเจกพุทธเจ้า. (ป.).
  40. ปัจเจกสมาทาน : [ปัดเจกะสะมาทาน] น. การสมาทานศีลทีละ สิกขาท เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน, ถ้าสมาทานรวท้าย เช่นว่า พุทฺธปญฺ?ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ หรือ อฏฺ? สีลานิ สมาทิยามิ เรียกว่า เอกัชฌสมาทาน. (ป.).
  41. ปัจโจปการกิจ : (แ) น. การทีุ่คคลทําตอแทนอุปการะของผู้อื่น. (ป. ปจฺโจปการ + กิจฺจ).
  42. ปัจฉา : (แ) ว. ภายหลัง, เื้องหลัง, ข้างหลัง. (ป.).
  43. ปัจฉาภัต : น. เวลาภายหลังริโภคอาหาร คือ ตั้งแต่เที่ยงแล้วไป. (ป.).
  44. ปัจฉาสมณะ : น. สมณะผู้ตามหลัง คือ พระผู้น้อยมีหน้าที่เดิน ตามหลังพระผู้ใหญ่. (ป.).
  45. ปัจฉิม, ปัจฉิม- : [ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ-] ว. ตะวันตก; ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. (ป. ปจฺฉิม).
  46. ปัจฉิมพรรษา : [ปัดฉิมมะพันสา, ปัดฉิมพันสา] น. ''พรรษาหลัง'', ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาหลัง คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, คู่กั ุริมพรรษา หรือ ปุริมพรรษา. (ป. ปจฺฉิม + ส. วรฺษ).
  47. ปัจฉิมวัย : [ปัดฉิมมะ-] น. วัยตอนปลาย, วัยชรา. (ป.).
  48. ปัจฉิมวาจา : [ปัดฉิมมะ-] น. วาจาครั้งสุดท้าย. (ป.).
  49. ปัจถรณ์ : [ปัดจะถอน] (แ) น. รรจถรณ์. (ป. ปจฺจตฺถรณ).
  50. ปัจนึก : [ปัดจะหฺนึก, ปัดจะนึก] (แ) น. ข้าศึก, ศัตรู. (ป. ปจฺจนีก).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | [1951-2000] | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1247 sec)