Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 2451-2500
  1. โพธ : [โพด] น. ความรู้, ความเข้าใจ, ความฉลาด. (ป., ส.). ก. แย้ม, าน, แรกรุ่น เช่น นงโพธ.
  2. โพธิญาณ : น. พระปัญญาที่ทําให้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. (ป.).
  3. โพธิัลลังก์ : น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทัใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้, รัตนัลลังก์ หรือ วัชรอาสน์ ก็ว่า. (ป. โพธิปลฺลงฺก).
  4. โพธิปักขิยธรรม : น. ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรม เกื้อกูลแก่ความตรัสรู้มี ๓๗ ประการ. (ป. โพธิปกฺขิยธมฺม).
  5. โพธิ, โพธิ์ : [โพทิ, โพ] น. ความตรัสรู้; ชื่อต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า, ัดนี้หมายถึงต้นไม้จําพวกโพ. (ป., ส.).
  6. โพธิสัตว์ : น. ท่านผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. (ส. โพธิสตฺตฺว; ป. โพธิสตฺต).
  7. ไพจิตร : [จิด] ว. งาม; แตกต่าง, หลายหลาก. (ป. วิจิตฺร; ส. วิจิตฺร, ไวจิตฺรฺย).
  8. ไพชน : น. ที่เงีย, ที่สงัด, ที่ปราศจากคน. (ป., ส. วิชน).
  9. ไพชยนต์ : [ชะยน] น. ชื่อรถและวิมานของพระอินทร์; ปราสาททั่วไปของ หลวง; ธงของพระอินทร์. (ส. ไวชยนฺต, ไวชยนฺตี; ป. เวชยนฺต).
  10. ไพฑูรย์ : น. ชื่อรัตนะอย่างหนึ่ง ในจําพวกนพรัตน์ มีสีเหลืองแกมเขียว หรือนํ้าตาลเทา มีนํ้าเป็นสายรุ้งกลอกไปมา, เพชรตาแมว หรือ แก้วสีไม้ไผ่ ก็ว่า. (ส. ไวฑูรฺย; ป. เวฬุริย).
  11. ไพที : น. ที่รอง, แท่น, ขอชายคา คือ ที่สุดชายคาชั้นนต่อกัชายคา ชั้นล่าง; ฐานัวควํ่าัวหงายที่พระเจดีย์. (ป., ส. เวที).
  12. ไพูลย์ : น. ความเต็มเปี่ยม, ความเต็มที่. ว. เต็มเปี่ยม, เต็มที่. (ส. ไวปุลฺย; ป. เวปุลฺล).
  13. ไพริน : น. ผู้มีเวร; ข้าศึก. (ส. ไวรินฺ; ป. เวรี).
  14. ไพรี : น. ผู้มีเวร; ข้าศึก. (ส. ไวรินฺ; ป. เวรี).
  15. ไพโรจน์ : ว. รุ่งเรือง, สุกใส. (ส. ไวโรจน; ป. วิโรจน).
  16. ไพศาขุรณมี : [ไพสาขะุระนะมี] น. วันเพ็ญเดือน ๖. (ส.; ป. วิสาขปุณฺณมี).
  17. ไพศาข, ไพศาขะ : [ไพสาขะ] น. เดือน ๖; ชื่อดาวฤกษ์ที่ ๑๖ ของดาวฤกษ์ ๒๗. (ป. วิสาข; ส. ไวศาข).
  18. ไพศาขมาส : [ไพสาขะมาด] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์ วิศาขะ คือ เดือน ๖ ตกในราวเดือนพฤษภาคม. (ส.; ป. วิสาขมาส).
  19. ไพศาล : ว. กว้างใหญ่. (ส. วิศาล; ป. วิสาล).
  20. ไพเศษ : ว. พิเศษ. (ส. วิเศษ; ป. วิเสส).
  21. ไพสิฐ : ว. ประเสริฐ, วิเศษ. (ป. วิสิฏฺ?; ส. วิศิษฺฏ).
  22. ไพหาร : น. วิหาร. (ป., ส. วิหาร).
  23. ภควดี : [พะคะวะดี] ใช้เป็นคําเรียกสตรีที่เคารพ เช่น พระมหิษี พระอุมา พระลักษมี. (ป., ส. ภควตี).
  24. ภควัต, ภควันต์, ภควา, ภควาน : [พะคะ–] น. นามพระเป็นเจ้า, นามพระพุทธเจ้า, พระผู้เป็นเจ้า, พระผู้มี พระภาค. (ป., ส.).
  25. ภคะ : (แ) น. โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. (ป., ส.).
  26. ภคันทลา : [พะคันทะลา] น. โรคริดสีดวงทวารหนัก. (ป.; ส. ภคํทร).
  27. ภคินี : [พะ–] น. พี่หญิง, น้องหญิง. (ป., ส.).
  28. ภณะ : [พะ–] (แ) ก. กล่าว, พูด, อก. (ป., ส.).
  29. ภพ : [พ] น. โลก, แผ่นดิน; วัฏสงสาร. (ป. ภว).
  30. ภมการ : [พะมะกาน] น. ช่างกลึง. (ป.).
  31. ภมร : [พะมอน] น. แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ใช้ว่า ภุมระ ก็มี; เครื่องกลึง. ก. หมุน. (ป.; ส. ภฺรมร).
  32. ภมรี : [พะมะรี] น. ผึ้ง, ผึ้งตัวเมีย, ผึ้งทั่วไป, ใช้ว่า ภุมรี ก็ได้. (ป.).
  33. ภมุ, ภมุกะ, ภมุกา : [พะ–] น. คิ้ว. (ป.; ส. ภฺรู).
  34. ภย– : [พะยะ–] (แ) น. ความกลัว, ของที่น่ากลัว. (ป., ส.).
  35. ภยันตราย : [พะยันตะราย] น. ภัยและอันตราย. (ป.).
  36. ภยาคติ : [พะยาคะติ] น. ความลําเอียงเพราะความกลัว เป็นอคติ ๑ ใน อคติ ๔ ได้แก่ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. ภย + อคติ).
  37. ภรณี : [พะระนี] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปแม่ไก่, ดาวก้อนเส้า ก็เรียก. (ป., ส.).
  38. ภรรดร, ภรรดา : [พันดอน, พันดา] น. ผัว เช่น ปัญหามีแต่จักหา ภรรดาสมศักดิ์สมศรี หาได้ใช่ง่ายชายดี สมกัเทวีลูกเรา. (กนกนคร), ใช้ว่า ภัสดา ก็ได้, โราณใช้ว่า ภรัสดาษ ก็มี. (ส. ภรฺตฺฤ; ป. ภตฺตา).
  39. ภรรยา : [พันยา, พันระยา] น. ภริยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กั สามี. (ส. ภารฺยา; ป. ภริยา).
  40. ภระ : ก. เลี้ยงดู, คํ้าจุน. (ป.).
  41. ภริยา : [พะริ–] น. ภรรยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กั สามี. (ป.; ส. ภารฺยา).
  42. ภรู : [พฺรู] น. คิ้ว. (ส. ภฺรู; ป. ภู).
  43. ภฤงคาร : [พฺริง–] น. หม้อนํ้า, เต้านํ้า. (ส.; ป. ภิงฺคาร).
  44. ภฤดก : [พฺรึ–] น. ลูกจ้าง. (ส. ภฺฤตก; ป. ภตก).
  45. ภฤดี : [พฺรึ–] น. ค่าจ้าง, สินจ้าง. (ส. ภฺฤติ; ป. ภติ).
  46. ภฤศ : [พฺรึด] ว. มาก, กล้า, จัด. (ส. ภฺฤศมฺ; ป. ภุส).
  47. ภฤษฏ์ ๑ : [พฺรึด] ก. ตก, ร่วง, หล่น. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรํศฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ?].
  48. ภฤษฏ์ ๒ : [พฺรึด] ก. ปิ้ง เคี่ยว หรือคั่วแล้ว. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรชฺชฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ?].
  49. ภวตัณหา : น. ตัณหาเป็นไปในภพ คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากเกิด. (ป.).
  50. ภวปาระ : น. ฝั่งแห่งภพ คือ นิพพาน. (ป.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | [2451-2500] | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1201 sec)