Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 3001-3050
  1. โมฆีย-, โมฆียะ : [โมคียะ-] (กฎ) ว. ที่อาจเป็นโมฆะได้เมื่อมีการอกล้าง หรือมีผลสมูรณ์เมื่อมี การให้สัตยาัน. (ป.).
  2. โมจน- : [โมจะนะ-] น. การเปลื้อง, การปลด, การปล่อย. (ป., ส.).
  3. โมทนา ๒ : [โมทะนา] ก. พลอยันเทิง, พลอยยินดี. (ตัดมาจาก อนุโมทนา). (ป., ส. โมทน).
  4. โมนะ : น. ความนิ่ง, ความสง. (ป.; ส. เมาน).
  5. โมไนย : [-ไน] น. ความเป็นปราชญ์, คุณธรรมของนักปราชญ์. (ป. โมเนยฺย; ส. เมาเนย).
  6. โมมูห์, โมมูหะ : ว. หลงใหล, โง่เขลา. (ป.; ส. โมมุฆ).
  7. โมร- : [-ระ-] น. นกยูง. (ป., ส.).
  8. โมรกลาป : [-กะหฺลา] น. แพนหางนกยูง. (ป.).
  9. โมรี ๑ : น. นกยูงตัวเมีย. (ป.).
  10. โมลี : น. เมาลี. (ป. โมลิ).
  11. โมษกะ, โมษะ : [-สะ-] น. โจร, ขโมย. (ส.; ป. โมส, โมสก).
  12. โมห-, โมหะ : [-หะ-] น. ความหลง, ความเขลา, ความโง่, ที่ใช้ว่า โม่ห์ หรือ เมาห์ ก็มี. (ป., ส.).
  13. โมหันธ์ : น. ความมืดมนด้วยความหลง. (ป. โมห + อนฺธ).
  14. โมหาคติ : น. ความลําเอียงเพราะความเขลา เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. โมห + อคติ).
  15. ไมตรี : [-ตฺรี] น. ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน. (ส.; ป. เมตฺติ).
  16. ยกนะ : [ยะกะนะ] น. ตั. (ป.; ส. ยกนฺ, ยกฺฤต).
  17. ยติ ๑ : น. ผู้สํารวมอินทรีย์, พระภิกษุ. (ป.; ส. ยติ, ยตินฺ).
  18. ยติ ๒ : น. การหยุดเป็นจังหวะตามกําหนดในการอ่านฉันท์. (ป., ส.).
  19. ยถากรรม : [ยะถากํา] ว. ตามุญตามกรรม, ตามแต่จะเป็นไป. (ส.; ป. ยถากมฺม).
  20. ยถาภูตญาณ : [ยะถาพูตะ] น. ความรู้ตามความเป็นจริง. (ป.; ส. ยถาภูต + ชฺ?าน).
  21. ยนต์, ยนตร์ : น. เครื่องกลไก, เครื่องจักรที่ให้กําเนิดพลังงานหรือทําให้วัตถุเคลื่อนที่. (ป. ยนฺต; ส. ยนฺตฺร).
  22. ยม ๒, ยม : [ยม, ยมมะ] น. เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจําโลกของคนตาย; ชื่อดาวเคราะห์ ดวงที่ ๙ ในระสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๕,๙๐๐ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ระหว่าง ๒,๕๘๐ ถึง ๓,๕๓๐ กิโลเมตร ทางโคจรเป็นวงรีมาก ทําให้ส่วนหนึ่งของทางโคจรอยู่ภายในวง โคจรของดาวเนปจูน, ดาวพลูโต ก็เรียก. (ป., ส.).
  23. ยมก : [ยะมก] น. คู่, แฝด, ๒ ชั้น; เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ๆ ว่า ไม้ยมก สําหรั อ่านซํ้าความหรือซํ้าคําข้างหน้า ๒ หน. (ป., ส.).
  24. ยมกปาฏิหาริย์ : น. ปาฏิหาริย์ที่แสดงเป็นคู่ ๆ เป็นปาฏิหาริย์ที่พระพุทธเจ้า ทรงกระทําที่ต้นมะม่วงซึ่งเรียกว่าคัณฑามพพฤกษ์ คือ ทรงันดาลท่อนํ้า ท่อไฟออกจากส่วนของพระกายเป็นคู่ ๆ กัน. (ป.).
  25. ยมทูต : น. ผู้นําคนตายไปยังัลลังก์พระยมเพื่อรอคําตัดสิน. (ป., ส.).
  26. ยมนา : [ยมมะนา] น. แม่นํ้าใหญ่, ชื่อแม่นํ้าสายหนึ่งในอินเดีย คือ แม่นํ้ายมุนา ซึ่งเรียกเพี้ยนเป็น ชุมนา ก็มี. (ป., ส. ยมุนา).
  27. ยมาล : น. เจ้าพนักงานเมืองนรก มีหน้าที่ลงโทษทรมานคนที่ตกนรก ตามคําสั่งของพญายม. (ป. ยมปาล ว่า ผู้รักษานรก).
  28. ยมราช : น. เทพผู้เป็นใหญ่ประจํายมโลก. (ป., ส.).
  29. ยมล : [ยะมน] น. คู่. (ป., ส.).
  30. ยมโลก : น. โลกของพระยม; โลกของคนตาย. (ป.).
  31. ยมะ ๑ : [ยะมะ] ก. สํารวม. (ป., ส.).
  32. ยมะ ๒ : [ยะมะ] น. คู่, แฝด. (ป., ส.).
  33. ยวะ, ยวา : [ยะวะ, ยะวา] น. ข้าว, ข้าวเหนียว. (ป., ส. ยว ว่า ข้าวาร์เลย์ เมล็ดคล้าย ลูกเดือย).
  34. ยศ : [ยด] น. ความยกย่องนัถือเกียรติของตน, เกียรติคุณ, ฐานันดรที่ พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ พระราชทานแกุ่คคลใดุคคลหนึ่ง มีสูง ต่ำตามลำดักันไป; เครื่องหมายพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ผู้มีฐานันดร มีสูงต่ำตามลำดักันไป, เครื่องกําหนดหมายฐานะหรือชั้นของุคคล. ว. ที่แสดงฐานะหรือชั้น เช่น พัดยศ. (ส.; ป. ยส).
  35. ยักข์ : น. ยักษ์. (ป.; ส. ยกฺษ).
  36. ยักขินี : น. นางยักษ์. (ป.; ส. ยกฺษิณี).
  37. ยักษ์ : น. อมนุษย์พวกหนึ่ง ถือกันว่ามีรูปร่างใหญ่โตน่ากลัว มีเขี้ยวงอก ใจดํา อํามหิต ชอกินมนุษย์ กินสัตว์ โดยมากมีฤทธิ์เหาะได้จําแลงตัวได้, างทีใช้ปะปนกัคําว่า อสูร รากษส และมาร ก็มี; เทวดาพวกหนึ่งใน สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกและชั้นปรนิมมิตวสวัตดี; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ ศตภิษัช มี ๔ ดวง, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวสตะภิสชะ ก็เรียก. ว. โดย ปริยายหมายความว่า มีลักษณะหรืออาการอย่างยักษ์ เช่น ใจยักษ์ หน้า ยักษ์, มีลักษณะใหญ่เป็นพิเศษในพวก เช่น ปลาหมึกยักษ์. (ส. ยกฺษ ว่า อมนุษย์พวกหนึ่ง ริวารท้าวเวสวัณ; ป. ยกฺข).
  38. ยักษิณี : น. นางยักษ์. (ส.; ป. ยกฺขินี).
  39. ยัชนะ : [ยัดชะนะ] น. พิธีจําพวกหนึ่งสําหรัูชาเทวดาโดยสวดมนตร์และถวาย เครื่องเซ่นสังเวย. (ป., ส.).
  40. ยัญญังค์ : น. มะเดื่อชุมพร. (ป.).
  41. ยัญ, ยัญ, ยัญญะ : [ยันยะ] น. การเซ่น, การูชา, การเซ่นสรวงโดยมีการฆ่าสัตว์หรือคน เป็นเครื่องูชา เรียกว่า ูชายัญ. (ป. ย?ฺ?; ส. ยชฺ?).
  42. ยัฐิ ๑ : [ยัดถิ] น. ไม้เท้า. (ป. ยฏ??; ส. ยษฺฏิ)
  43. ยัฐิมธุกา : [ยัดถิมะทุกา] น. ชะเอมเครือ. (ป. ยฏฺ??มธุกา).
  44. ยันตร, ยันตร์ : [ยันตฺระ, ยัน] น. ยนตร์. (ส.; ป. ยนฺต).
  45. ยัษฏิ : [ยัดสะติ] น. ไม้เท้า. (ส.; ป. ยฏฺ??).
  46. ยาคะ : น. ยัญพิธี. (ป., ส.).
  47. ยาคุ, ยาคู : น. ข้าวต้ม; เรียกขนมชนิดหนึ่งทําด้วยข้าวอ่อนว่า ข้าวยาคุ หรือ ข้าวยาคู. (ป.).
  48. ยาจก, ยาจนก : [จก, จะนก] น. คนขอทาน. (ป., ส.).
  49. ยาจนะ, ยาจนา : [ยาจะนะ, ยาจะนา] น. การขอ, การขอร้อง, การวิงวอน. (ป., ส.).
  50. ยาชกะ : [ชะกะ] น. ผู้ที่ทําพิธีูชาหรือพิธีวงสรวงแทนผู้อื่น. (ป., ส.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | [3001-3050] | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1278 sec)