Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 3501-3550
  1. วัฏ, วัฏฏะ : [วัดตะ] (แ) น. วงกลม; การหมุน, การเวียนไป, รอแห่งการ เวียนเกิดเวียนตาย. ว. กลม, เป็นวง. (ป.; ส. วฺฤตฺต).
  2. วัฏสงสาร : น. การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ สังสารวัฏ. ก็ว่า (ป.).
  3. วัฒกะ : [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. ว. งอกงาม, เจริญ. (ป. วฑฺฒก; ส. วรฺธก).
  4. วัฒกี : [วัดทะกี] น. ช่างไม้. (ป. วฑฺฒกี).
  5. วัฒน, วัฒนะ : [วัดทะนะ] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ป. วฑฺฒน).
  6. วัณฏ์ : น. ขั้ว, ก้าน. (ป.; ส. วฺฤนฺต).
  7. วัณณะ : (แ) น. สี, ผิว; ชนิด, อย่าง. (ป.; ส. วรฺณ). (ดู วรรณ, วรรณะ).
  8. วัณนา : [วันนะ] น. คําชี้แจง, คําอธิาย. (ป. วณฺณนา; ส. วรฺณนา). (ดู พรรณนา).
  9. วัณ, วัณ : [วัน, วันนะ] น. วณะ, แผล, ฝี. (ป.).
  10. วัต : น. วตะ, พรต, ข้อปฏิัติ; ความประพฤติ. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
  11. วัตตา : น. ผู้กล่าว, ผู้พูด. (ป.; ส. วกฺตฺฤ).
  12. วัตถุ : น. สิ่งของ. (ป.; ส. วสฺตุ).
  13. วัตนะ : [วัดตะนะ] น. ความเป็นไป, ความเป็นอยู่. (ป. วตฺตน; ส. วรฺตน).
  14. วัตร, วัตร : [วัด, วัดตฺระ] น. กิจพึงกระทํา เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิัติ เช่น ธุดงควัตรอุปัชฌายวัตร, การจำศีล. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
  15. วัติ : [วัด, วัดติ] น. วดี, รั้ว. (ป. วติ).
  16. วัทน์ : (แ) น. วทนะ. (ป., ส. วทน).
  17. วัน ๓ : น. ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. (ป. วน).
  18. วันต์ : (แ) ก. คายแล้ว, ทิ้งหรือเลิกแล้ว. (ป.; ส. วานฺต).
  19. วันทน, วันทนา : [วันทะนะ, วันทะนา] น. การไหว้, การเคารพ. (ป., ส.).
  20. วันทนาการ : น. การไหว้. (ป.).
  21. วันทนีย์ : ว. ควรไหว้, น่านัถือ. (ป., ส.).
  22. วันทา : ก. ไหว้, แสดงอาการเคารพ. (ป. วนฺท).
  23. วันทิ : (แ) น. เชลย. (ป., ส.).
  24. วัปป, วัปปะ : [วัปะ] น. การหว่านพืช เช่น พิธีวัปปมงคล; ฝั่งน้ำ. (ป. วป ว่า ผู้หว่านพืช; ส. วปฺร ว่า ฝั่งน้ำ ทุ่งที่หว่านพืชไว้ ทุ่ง).
  25. วัมมิกะ : น. จอมปลวก. (ป. วมฺมีก; ส. วลฺมีก).
  26. วัย, วัย : [ไว, ไวยะ] น. เขตอายุ, ระยะของอายุ, เช่น วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วัยชรา. (ป., ส. วย).
  27. วัยวุฒิ : [ไวยะวุดทิ, ไวยะวุด] น. ความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. (ป. วย + วุฑฺฒิ).
  28. วัลคุ : [วันละคุ] (แ) ว. งาม, สวย, น่ารัก; ไพเราะ. (ส. วลฺคุ; ป. วคฺคุ).
  29. วัลย์ : น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส. วลฺลี).
  30. วัลลภ : [วันล] น. คนสนิท, ผู้ชอพอ, คนโปรด, คนรัก. (ป., ส.).
  31. วัลลี : น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส.).
  32. วัสคณนา : [วัดสะคะนะนา] น. การนัปี. (ป. วสฺส + คณนา).
  33. วัสดุ : [วัดสะดุ] น. วัตถุที่นํามาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการ ใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงประมาณ). (ส. วสฺตุ; ป. วตฺถุ).
  34. วัสนะ : [วัดสะนะ] (แ) น. ฝนตก. (ป. วสฺสน; ส. วรฺษณ).
  35. วัส, วัสสะ : [วัดสะ] น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ).
  36. วัสสานฤดู : [วัดสานะรึดู] น. ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อน อันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละ ท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไป้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้น, วันแรมค่ำหนึ่ง เดือน๘ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ างทีก็เขียนเพี้ยน ไปเป็น วสันต์. (ป. วสฺสาน + ส. ฤตุ = ฤดูฝน).
  37. วัสสาน, วัสสานะ : [วัดสานะ] น. ฤดูฝน, หน้าฝน. (ป. วสฺสาน ว่า ฤดูฝน).
  38. วัสโสทก : น. นํ้าฝน. (ป.).
  39. วาก ๒, วากะ : [วากะ] น. เปลือกไม้, ป่าน, ปอ. (ป.; ส. วลฺก).
  40. วากจิรพัสตร์ : น. ผ้าที่ทําด้วยเปลือกไม้, ผ้าป่าน. (ป. วากจิร ว่า ที่ทําด้วยเปลือกไม้ + ส. วสฺตฺร ว่า ผ้า).
  41. วากย, วากยะ : [วากกะยะ] น. คําพูด, คํากล่าว, ถ้อยคํา, ประโยค. (ป., ส.).
  42. วากรา : [วากกะรา] (แ) น. ตาข่าย; ่วง, เครื่องดักสัตว์. (ป.; ส. วาคุรา).
  43. วาจก : น. ผู้กล่าว, ผู้อก, ผู้พูด. (ไว) ก. กริยาของประโยคที่แสดงว่า ประธานทําหน้าที่เป็นผู้ทํา ผู้ใช้ ผู้ถูกทํา หรือผู้ถูกใช้ แ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจกและการิตวาจก. (ป., ส.).
  44. วาจา : น. ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. (ป., ส.).
  45. วาจาไปยะ : (แ) น. คําอ่อนหวาน. (ป. วาจาเปยฺย, วาชเปยฺย).
  46. วาจาล : (แ) ว. ช่างพูด. (ป., ส.).
  47. วาฏกะ : [วาตะ] (แ) น. วงกลม, สังเวียน. (ป.).
  48. วาณิช, วาณิชกะ : [วานิด, วานิดชะ] น. พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กัคำ พ่อค้า เป็นพ่อค้าวาณิช. (ป., ส.).
  49. วาณี : น. ถ้อยคํา, ภาษา. (ป., ส.); เจ้าแม่แห่งวาจา คือ พระสรัสวดี. (ส.).
  50. วาตปานะ : น. หน้าต่าง, ช่องลมที่มีานเปิดปิดได้อย่างานหน้าต่าง. (ป.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | [3501-3550] | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1508 sec)