Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 3601-3650
  1. วิกล : [วิกน] ว. ไม่ปรกติ, แปลกไป, ไม่สมูรณ์, อ่อนแอ, เช่น รูปร่าง วิกลหน้าตาวิกล, างทีใช้เข้าคู่กัคำ วิการ เป็น วิกลวิการ เช่น รูปร่างวิกลวิการ. (ป., ส.).
  2. วิกสิต : [วิกะสิด] ก. าน, แย้ม. (ป., ส.).
  3. วิกัต : ว. วิกฤต. (ป. วิกต).
  4. วิกัป : [กั] น. การใคร่ครวญอย่างไม่แน่ใจ; คําแสดงความหมาย ให้เลือกเอาอย่างใดอย่าง หนึ่ง. ก. กำหนด; ให้, ฝาก (ตามพระวินัยัญญัติ). (ป. วิกปฺป; ส. วิกลฺป).
  5. วิกัย : [ไก] น. การขาย. (ป.; ส. วิกฺรย).
  6. วิการ : ว. พิการ, ที่ผิดแปลกไปจากธรรมชาติ, มักใช้เข้าคู่กัคำ วิกล เป็น วิกลวิการ. . ความผันแปร. (ป., ส.).
  7. วิกาลโภชน์ : น. การกินอาหารในเวลาวิกาล คือ ผิดเวลา ซึ่งว่าตาม พระวินัยกำหนดไว้ตั้งแต่เที่ยงแล้วไปจนถึงอรุณขึ้น. (ป.).
  8. วิกาล, วิกาล : [วิกาน, วิกานละ] ว. ในยามค่ำคืนที่ค่อนไปทางดึก เช่น ขโมยเข้า ้านในยามวิกาล; ผิดเวลา (ใช้แก่การกินอาหารผิดเวลาตามที่พระ วินัยกำหนด นัตั้งแต่เที่ยงแล้วไปจนถึงอรุณขึ้น) เช่น กินอาหาร ในเวลาวิกาล. (ป.).
  9. วิคหะ : [วิกคะ] น. การทะเลาะ, การโต้เถียง; ร่างกาย, รูปร่าง, ตัว; การแยกออกเป็นส่วน ๆ. (ป. วิคฺคห; ส. วิคฺรห).
  10. วิฆาต : ก. พิฆาต. (ป., ส.).
  11. วิฆาส : น. เดน, อาหารเหลือ. (ป.).
  12. วิจฉิกะ : [วิด] น. แมงป่อง, มักใช้ว่า พฤศจิก. (ป.; ส. วฺฤศฺจิก).
  13. วิจรณะ : [จะระ] ก. เที่ยวไป. (ป.).
  14. วิจักขณ์, วิจักษณ์ : ว. ที่รู้แจ้ง, ที่เห็นแจ้ง, ฉลาด, มีสติปัญญา, เชี่ยวชาญ, ชํานาญ. (ป. วิจกฺขณ; ส. วิจกฺษณ).
  15. วิจัย ๑ : น. การสะสม, การรวรวม. (ป., ส.).
  16. วิจิ : น. วีจิ, คลื่น, ลูกคลื่น. (ป., ส. วีจิ).
  17. วิจิกิจฉา : [กิดฉา] น. ความสงสัย, ความเคลือแคลง, ความลังเล, ความไม่ แน่ใจ. (ป.; ส. วิจิกิตฺสา).
  18. วิจิตร : [จิด] ว. งามประณีต. (ส.; ป. วิจิตฺต).
  19. วิจิน : ก. เที่ยวหา, สืเสาะ, ตรวจ; เก็, คัดเลือก. (ป.).
  20. วิจุณ : ว. ป่น, แหลกละเอียด, มักใช้ประกอท้ายคํา จุณ หรือ จุรณ เป็น จุณวิจุณ หรือ จุรณวิจุณ, เขียนเป็น วิจุรณ ก็มี. (ป. วิจุณฺณ; ส. วิจูรฺณ).
  21. วิจุรณ : จุรณวิจุรณ, เขียนเป็น วิจุณ ก็มี. (ส. วิจูรฺณ; ป. วิจุณฺณ).
  22. วิชชา : [วิด] น. ความรู้แจ้ง เช่น วิชชา ๓ วิชชา ๘ ในพระพุทธศาสนา, วิชชา ๓ คือ ๑. ุพเพนิวาสานุสติญาณ (รู้จักระลึกชาติได้) ๒.จุตูปปาตญาณ(รู้จักกําหนดจุติและเกิด) ๓. อาสวักขยญาณ (รู้จักทํา อาสวะให้สิ้น), ส่วนวิชชา ๘ คือ ๑. วิปัสสนาญาณ (ญาณอันนัเข้า ในวิปัสสนา) ๒. มโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) ๓. อิทธิวิธิ (แสดงฤทธิ์ได้) ๔. ทิพโสต (หูทิพย์) ๕. เจโตปริยญาณ (รู้จักกําหนดใจผู้อื่น) ๖. ุพเพนิวาสานุสติญาณ ๗. ทิพจักขุ (ตาทิพย์) ๘. อาสวักขยญาณ. (ป. วิชฺชา; ส. วิทฺยา).
  23. วิชชุลดา : [วิดชุละ] น. สายหรือประกายไฟฟ้า, สายฟ้าแล. (ป. วิชฺชุลฺลตา; ส. วิทฺยุลฺลตา); ''ชื่อกาพย์ประเภทหนึ่ง, คู่กั มหาวิชชุลดา.
  24. วิชชุ, วิชชุดา, วิชชุตา : [วิด] น. แสงไฟฟ้า, สายฟ้า. (ป.; ส. วิทฺยุตฺ).
  25. วิชน : [วิ-ชน] ว. ปราศจากคน, ร้าง. (ป., ส.).
  26. วิชนี : [วิดชะ] น. วีชนี. (ป. วีชนี; ส. วีชน).
  27. วิชย, วิชัย : [วิชะยะ-,วิไข] น. ความชนะ, ชัยชนะ, (ป., ส.)
  28. วิชา : น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ. (ป. วิชฺชา; ส. วิทฺยา).
  29. วิชานนะ : น. ความรู้, ความเข้าใจ. (ป.; ส. วิชฺ?าน).
  30. วิชิต : น. เขตแดนที่ปราปรามแล้ว. ว. ปราให้แพ้, ชนะแล้ว. (ป.; ส. วิชิต ว่า ถูกปรา, ชนะ).
  31. วิญญัตติ : [วินยัดติ] น. การขอร้อง, การอกกล่าว, การชี้แจง, รายงาน. (ป.; ส. วิชฺ?ปฺติ).
  32. วิญญาณ : น. สิ่งที่เชื่อกันว่ามีอยู่ในกายเมื่อมีชีวิต เมื่อตายจะออกจากกาย ล่องลอยไปหาที่เกิดใหม่; ความรัรู้ เช่น จักษุวิญญาณ คือ ความรัรู้ ทางตา โสตวิญญาณ คือ ความรัรู้ทางหู เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ; โดยปริยายหมายถึงจิตใจ เช่น มีวิญญาณนักสู้ มีวิญญาณศิลปิน. (ป.; ส. วิชฺ?าน).
  33. วิญญู : น. ผู้รู้แจ้ง, นักปราชญ์. (ป.; ส. วิชฺ?).
  34. วิตกจริต : [วิตกกะจะหฺริด, วิตกจะหฺริด] ว. มีนิสัยคิดไปในทางร้าย ทางเสีย. (ป.).
  35. วิตก, วิตก : [วิตกกะ, วิตก] ก. เป็นทุกข์, ร้อนใจ, กังวล, เช่น วิตกว่าจะเกิด สงคราม, มักใช้เข้าคู่กัคำกังวล เป็น วิตกกังวล เช่น อย่าวิตกกังวล ไปนักเลยพรุ่งนี้สถานการณ์คงจะดีขึ้น. น. ความตรึก, ความตริ, ความคิด. (ป. วิตกฺก; ส. วิตรฺก ว่า ลังเลใจ).
  36. วิตถาร : [วิดถาน] ว. กว้างขวาง, มากเกินไป, พิสดาร. (ป.; ส. วิสฺตาร); นอกแ, นอกทาง, (เกินวิสัยปรกติ) เช่น พวกเด็ก ๆ ชอเล่น วิตถาร เอาน้ำสกปรกผสมแป้งสาดเข้าไปในรถประจำทาง ในวันสงกรานต์.
  37. วิถี : น. สาย, แนว, ถนน, ทาง, มักใช้ประกอกัคําอื่น เช่น วิถีทาง วิถี ชีวิต าทวิถี. (ป., ส. วีถิ).
  38. วิทธะ : (แ) ว. เจาะ, แทง, ฉีกขาด, เป็นแผล, เป็นรู, แตก. (ป., ส.).
  39. วิทยุต : [วิดทะยุด] น. ฟ้าแล, ไฟฟ้า. (ส.; ป. วิชฺชุ).
  40. วิทวัส : [วิดทะวัด] น. ผู้รู้, นักปราชญ์, ผู้มีปัญญา. (ส.; ป. วิทฺวา).
  41. วิทัตถิ : น. ชื่อมาตราวัด คือ คืหนึ่ง. (ป.; ส. วิตสฺติ).
  42. วิทารณ์ : น. การผ่า, การตัด. (ป., ส.).
  43. วิทาลน์ : น. การเปิด, การระเิด; การผ่า, การฉีก. (ป.).
  44. วิทิต : น. ผู้คงแก่เรียน, ผู้รู้. (ป., ส.).
  45. วิทู : น. ผู้ฉลาด, ผู้รอรู้, ผู้มีปัญญา, ผู้ชํานาญ. (ป.).
  46. วิทูร ๑ : ว. ฉลาด, คงแก่เรียน, มีปัญญา, ชํานาญ. (ป., ส. วิทุร).
  47. วิทูร ๒ : ว. ไกล, ห่าง, พ้นออกไป. (ป., ส.).
  48. วิเทวษ : [ทะเวด] น. ความเป็นข้าศึก, ความเกลียด, ความปองร้าย. (ส. วิเทฺวษ; ป. วิทฺเทส).
  49. วิเทศ : น. ต่างประเทศ. (ป., ส.).
  50. วิธวา : [วิทะ] น. หญิงม่าย. (ป., ส.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | [3601-3650] | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1211 sec)