Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 3651-3700
  1. วิธ, วิธา : น. อย่าง, ชนิด. (ป.).
  2. วิธี : น. ทํานองหรือหนทางที่จะทํา เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอน คณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี; แ, แอย่าง, เช่น ทำถูกวิธี; กฎ, เกณฑ์; คติ, ธรรมเนียม. (ป., ส. วิธิ).
  3. วิธุระ : [วิทุ] ว. เปลี่ยว, ว้าเหว่. (ป., ส.).
  4. วิธู : น. พระจันทร์. (ป., ส. วิธุ).
  5. วิธูปนะ : [ทูปะนะ] น. พัด. (ป., ส.).
  6. วินตกะ : [วินตะกะ] น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๖ ในหมู่เขาสัตริภัณฑ์ที่ล้อมเป็น วงกลมรอเขาพระสุเมรุ. (ป., ส. วินตก). (ดู สัตริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
  7. วินย, วินัย : [วินะยะ] น. ระเียแผนและข้อังคั, ข้อปฏิัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย; สิกขาทของพระสงฆ์. (ป., ส.).
  8. วินัยธร : [วิไนทอน] น. ภิกษุผู้ชํานาญวินัย. (ป.).
  9. วินายก : น. ผู้ขจัดสิ่งขัดข้อง, พระวิฆเนศวร; พระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
  10. วินิจฉัย : ก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง; ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, เช่น คณะกรรมการขอเลื่อนเวลาออกไปอีกเพื่อวินิจฉัย ปัญหาให้รอคอยิ่งขึ้น. (ป.).
  11. วินิต : ก. ฝึกหัดหรืออรม, ทำให้ละพยศหรือละทิฐิมานะ, ปกครอง. (ป., ส. วินีต).
  12. วินิาต : น. การทําลาย, การฆ่า, เช่น วินิาตกรรม; ภพที่ต้องโทษ, ภพที่รัทุกข์, เช่น ทุคติวินิาต. (ป., ส.).
  13. วินิปาติก. : น. ผู้ตกอยู่ในอาย, ผู้ถูกทรมาน. (ป.).
  14. วิเนต : ก. นํา, ชี้, ฝึกหัด, สั่งสอน, อรม. (ป.).
  15. วิโนทก : น. ผู้รรเทา. (ป., ส.).
  16. วิัติ : น. พิัติ, ความฉิหาย, ความหายนะ, ความเป็นอัปมงคล, เช่น ทรัพย์สมัติวิัติ; ความเคลื่อนคลาด, ความผิด, เช่น อักขราวิัติ. ก. ฉิหาย เช่น ขอจงวิัติทันตาเห็น. (ป., ส. วิปตฺติ).
  17. วิาก : น. ผล, ผลแห่งกรรมดีกรรมชั่วอันทําไว้แต่อดีต, เช่น กุศลวิาก กรรมวิาก. ว. ลำาก เช่น ทางวิาก วิ่งวิาก. (ป., ส. วิปาก).
  18. วิุล, วิูล : ว. เต็ม, กว้างขวาง, มาก, ใช้ว่า วิุลย์ หรือ วิูลย์ ก็มี. (ป., ส. วิปุล).
  19. วิปการ, วิประการ : [วิปะกาน, วิปฺระกาน] ก. ผิดฐานะ, ไม่เหมาะสม. (ป. วิปฺปการ; ส. วิปฺรการ ว่า ประทุษร้าย, แก้แค้น).
  20. วิปฏิสาร, วิประติสาร : [วิปะติสาน, วิปฺระ] น. ความเดือดร้อน, ความร้อนใจ, (ภายหลังที่ได้กระทําผิด หรือเนื่องด้วยการกระทําผิด). (ป. วิปฺปฏิสาร; ส. วิปฺรติสาร).
  21. วิปโยค, วิประโยค : [วิปะโยก, วิปฺระโยก] น. ความพลัดพราก, ความกระจัดกระจาย, ความจากกัน. ว. เศร้าโศก เช่น วันวิปโยค แม่น้ำวิปโยค. (ป. วิปฺปโยค; ส. วิปฺรโยค).
  22. วิประลาป, วิปลาป : [วิปฺระลา, วิปะ] น. การพูดเพ้อ, การพูดพรํ่า; การทุ่มเถียง, การโต้ตอ; การอ้อนวอน, การพรํ่า่น. (ป. วิปฺปลาป; ส. วิปฺรลาป).
  23. วิประวาส, วิปวาส : [วิปฺระวาด, วิปะ] น. การพลัดพราก, การจากไป, การไปอยู่ ที่อื่น. (ป. วิปฺปวาส; ส. วิปฺรวาส).
  24. วิปริต : [วิปะหฺริด, วิปะหฺริด] ก. แปรปรวน, ผิดปรกติ, ผิดแนวทาง, แปรปรวนไปข้างร้าย, กลักลายไปข้างร้าย. (ป.; ส. วิปรีต).
  25. วิปลาส : [วิปะลาด, วิปะลาด] ก. คลาดเคลื่อนไปจากธรรมดาสามัญ เช่น สติวิปลาสตัวอักษรวิปลาส สัญญาวิปลาส. (ป. วิปลฺลาส, วิปริยาส; ส. วิปรฺยาส).
  26. วิปักษ์ : น. ฝ่ายตรงกันข้าม, ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. (ส.; ป. วิปกฺข).
  27. วิปัสสก : น. ผู้เห็นแจ้ง. (ป.).
  28. วิปัสสนา : [วิปัดสะนา] น. ความเห็นแจ้ง, การฝึกอรมปัญญาให้เกิดความเห็น แจ้งในสังขารทั้งหลายว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา. (ป.).
  29. วิปัสสนาธุระ : น. การเรียนวิปัสสนา, คู่กั คันถธุระ การเรียน คัมภีร์ปริยัติ. (ป. วิปสฺสนา + ธุร).
  30. วิพุธ : น. ผู้รู้, นักปราชญ์. (ป., ส.).
  31. วิภว : [พะวะ] น. ความเจริญ; สมัติ; ความไม่มีไม่เป็น. (ป., ส.).
  32. วิภวตัณหา : น. ความปรารถนาในความไม่มีไม่เป็น. (ป.).
  33. วิภังค์ : น. การจําแนก, การแ่ง; ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งพระอภิธรรมปิฎก. (ป., ส.).
  34. วิภัช, วิภัช : [พัด, พัดชะ] ก. แ่ง, แยก, จําแนก. (ป., ส.).
  35. วิภัตติ : [วิพัด] น. การแ่ง, การจัดเป็นพวก, การจําแนก; (ไว) ประเภทคําใน ภาษาาลีเป็นต้นที่แปลงท้ายคําแล้วเพื่ออกการกหรือกาล เช่น ปุริโส (อันว่าุรุษ) เป็น กรรตุการก ปุริสํ (ซึ่งุรุษ) เป็น กรรมการก จรติ (ย่อมเที่ยวไป) เป็น ปัจจุันกาล จริ (เที่ยวไปแล้ว) เป็นอดีตกาล จริสฺสติ (จักเที่ยวไป) เป็น อนาคตกาล. (ป.).
  36. วิภา : น. รัศมี, แสงสว่าง, ความแจ่มแจ้ง, ความสุกใส, ความงดงาม. (ป., ส.).
  37. วิภาค : น. การแ่ง, การจําแนก; ส่วน, ตอน. (ป., ส.).
  38. วิภาดา : ว. สว่าง. (ป. วิภาตา).
  39. วิภาวี : น. ผู้รู้แจ้งชัด, นักปราชญ์. (ป.; ส. วิภาวินฺ).
  40. วิภู : น. ผู้ครอง, พระเจ้าแผ่นดิน. ว. ยิ่งใหญ่, มีอํานาจ; แข็งแรง. (ป., ส.).
  41. วิภูษณะ : [วิพูสะ] น. เครื่องประดั, เครื่องแต่ง. (ส.; ป. วิภูสน).
  42. วิภูษา : น. เครื่องประดั, เครื่องแต่ง. (ส.; ป. วิภูสา).
  43. วิภูษิต : ว. แต่งแล้ว, ประดัแล้ว. (ส.; ป. วิภูสิต).
  44. วิเภตก์, วิเภทก์ : น. สมอพิเภก. (ป.).
  45. วิมน : ว. ใจคอวิปริต, เคลือแคลง; ไม่พอใจ, ไม่สนใจ. (ป.).
  46. วิมังสา : น. การสอสวน, ความไตร่ตรอง, ความพิจารณา. (ป. วีมํสา; ส. มีมําสา).
  47. วิมัติ : น. ความเคลือแคลง, ความสงสัย. (ป., ส. วิมติ).
  48. วิมาน : น. ที่อยู่หรือที่ประทัของเทวดา; ยานทิพย์. (ป., ส.).
  49. วิมุข : [มุก] ว. กลัหน้า; เพิกเฉย; ข้างหลัง, ฝ่ายหลัง. (ป., ส.).
  50. วิมุต : [มุด] ก. พ้น, หลุดพ้น. (ป. วิมุตฺต; ส. วิมุกฺต).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | [3651-3700] | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1352 sec)