Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 4051-4100
  1. สมาคม : [สะมา] น. การประชุม, การเข้าร่วมพวกร่วมคณะ, การคค้า; แหล่งหรือที่ประชุมของุคคลหลายคนมาร่วมกันด้วยมีจุดประสงค์ เพื่อประโยชน์างประการ เช่น เข้าสมาคม สมาคมศิษย์เก่า; (กฎ) นิติุคคลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อกระทําการใด ๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกัน และมิใช่เป็นการหาผลกําไรหรือรายได้มาแ่งปันกัน สมาคมต้องมี ข้อังคัและจดทะเียนตามัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์. (ป., ส.). ก. คค้า, คหา, เช่น อย่าสมาคมกัคนพาล ให้สมาคมกันักปราชญ์.
  2. สมาจาร : [สะมาจาน] น. ความประพฤติที่ดี, ธรรมเนียม, ประเพณี. (ป., ส.).
  3. สมาชิก ๑ : [สะมา] น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรม ใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิก วารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุน ที่ร้านเลย. (ป., ส.).
  4. สมาทาน : [สะมา] ก. รัเอาถือเอาเป็นข้อปฏิัติ เช่น สมาทานศีล. (ป., ส.).
  5. สมาธิ : [สะมาทิ] น. ความตั้งมั่นแห่งจิต; ความสํารวมใจให้แน่วแน่เพื่อให้ จิตใจสงหรือเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง. (ป., ส.).
  6. สมาน ๑ : [สะมานะ, สะหฺมานนะ] ว. เสมอกัน, เท่ากัน. (ป., ส.).
  7. สมานฉันท์ : [สะมานะ, สะหฺมานนะ] น. ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้องกัน, เช่น มีความเห็นเป็นสมานฉันท์. (ป. สมาน + ฉนฺท).
  8. สมานสังวาส : [สะมานะ] น. การอยู่ร่วมเสมอกัน (ใช้แก่พระสงฆ์ ที่มีศีลเสมอกัน ทําอุโสถหรือสังฆกรรมร่วมกันได้). (ป. สมานสํวาส).
  9. สมาัติ : [สะมาัด] น. ภาวะที่จิตสงประณีต, คุณวิเศษที่เกิดจากการที่จิต เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่, การรรลุคุณวิเศษชั้นสูงด้วยอำนาจของการ เข้าสมาธิ, มีหลายอย่าง เช่น ฌานสมาัติ ผลสมาัติ, างทีใช้เข้าคู่ กัคำ ฌาน เป็น ฌานสมาัติ มี ๘ ได้แก่ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔. (ป., ส. สมาปตฺติ).
  10. สมาส : [สะหฺมาด] น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียว ตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์าลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. (ป., ส.).
  11. สมิต ๑ : [สะมิด] ก. ยิ้ม, เิกาน. (ส.; ป. สิต).
  12. สมิต ๒ : [สะมิด] ก. ประสม, รวรวม. (ป.).
  13. สมิติ : [สะ] น. ที่ประชุม. (ป., ส.).
  14. สมิทธ์, สมิทธิ : [สะมิด, สะมิดทิ] ว. สําเร็จพร้อม, สมูรณ์, สัมฤทธิ์, เขียนว่า สมิต ก็มี. (ป.).
  15. สมีปะ : [สะมี] (แ) ว. ใกล้ เช่น สมีปสร้อยสระศรี. (สมุทรโฆษ). (ป.).
  16. สมีระ : [สะมี] น. ลม. (ป., ส. สมีรณ).
  17. สมุก ๒ : [สะหฺมุก] น. ภาชนะสานก้น ๔ มุม มีฝาสวมครอ สําหรัใส่สิ่งของ ต่าง ๆ. (ป. สมุคฺค ว่า หี, ตะกร้า).
  18. สมุจจัย : [สะหฺมุดไจ] น. การรวรวม. (ป., ส.).
  19. สมุจเฉท, สมุจเฉท : [สะหฺมุดเฉด, เฉดทะ] น. การตัดขาด. (ป., ส.). สมุจเฉทปหาน [ปะหาน] น. การละกิเลสได้ขาดอย่างพระอรหันต์.
  20. สมุฏฐาน : [สะหฺมุดถาน] น. ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ, เช่น สมุฏฐานของโรค โรคนี้มีจิต เป็นสมุฏฐาน. (ป.).
  21. สมุตถาน : [สะหฺมุดถาน] น. สมุฏฐาน. (ส.; ป. สมุฏฺฺ?าน).
  22. สมุทร ๑, สมุทร : [สะหฺมุด, สะหฺมุดทฺระ] น. ทะเลลึก; เรียกทะเลขนาดใหญ่ ซึ่งมีแผ่นดิน โอล้อมเป็นตอน ๆ ว่า มหาสมุทร เช่น มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทร แปซิฟิก. (ส.; ป. สมุทฺท).
  23. สมุทัย : [สะหฺมุไท, สะหฺมุดไท] น. ต้นเหตุ, ที่เกิด, ในคำว่า ทุกขสมุทัย หมายถึง ต้นเหตุหรือที่เกิดแห่งทุกข์. (ป., ส.).
  24. สมุห, สมุห์ : [สะหฺมุหะ, สะหฺมุ] น. หมู่, กอง, พวก. (ป.; ส. สมูห); หัวหน้าใน ตําแหน่งหน้าที่ เช่น สมุหพระราชพิธี สมุหราชองครักษ์ สมุห์ัญชี; ตําแหน่งพระฐานานุกรมเหนือใฎีกา เช่น พระสมุห์ พระครูสมุห์. สมุหกลาโหม, สมุหพระกลาโหม น. ตําแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหา เสนาดีฝ่ายทหารครั้งโราณ.
  25. สโมธาน : [สะโมทาน] น. การประชุม, การรวมกัน. (ป.; ส. สมวธาน).
  26. สโมสรทหารก. : ก. ร่วมชุมนุมกัน เช่น ไปร่วมสโมสร. (ป. สโมสรณ; ส. สมวสรณ).
  27. สยนะ : [สะยะ] น. ที่นอน; การนอน. (ป.).
  28. สยมพร : [สะหฺยมพอน] น. พิธีเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโราณ; การเลือกผัว ของนางกษัตริย์สมัยโราณ, สยัมพร สยุมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้. (ป. สยํวร; ส. สฺวยํวร).
  29. สยมภู : [สะหฺยมพู] น. พระผู้เป็นเอง, พระอิศวร, สวยมภู ก็ใช้. (ป. สยมฺภู; ส. สฺวยมฺภู).
  30. สยัมวรา : [สะยําวะ] น. หญิงที่เลือกคู่เอาเอง. (ป.; ส. สยํวรา, สฺวยํวรา).
  31. สร ๑ : [สอน] น. ศร. (ป.; ส. ศร).
  32. สร ๒ : [สอระ] ว. ทิพย์, แกล้วกล้า, เช่น สรศาสดา สรศักดิ์ สรสีห์. (ป., ส. สุร).
  33. สรกะ : [สะระกะ] น. จอก, ขัน. (ป., ส.).
  34. สรฏะ : [สะระ] น. กิ้งก่า. (ป., ส.).
  35. สรณคมน์, สรณาคมน์ : น. การยึดเอาเป็นที่พึ่งที่ระลึก, ในพระพุทธศาสนา หมายถึง การถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึก เรียกว่า ไตรสรณคมน์ หรือ ไตรสรณาคมน์. (ป.).
  36. สรณ, สรณะ : [สะระนะ] น. ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).
  37. สรทะ : [สะระ] น. ฤดูใไม้ร่วง, ฤดูสารท. (ป.; ส. ศรท).
  38. สรพะ : [สะระพะ] ว. เสียงดัง, เอ็ดอึง. (ป.; ส. ศรว).
  39. สรภะ : [สะระ] น. สัตว์ในนิยายว่ามี ๘ ขา มีกําลังยิ่งกว่าราชสีห์. (ป.; ส. ศรภ).
  40. สรภัญญะ : [สะระพันยะ, สอระพันยะ] น. ทํานองสําหรัสวดคําที่เป็นฉันท์, ทํานองขัร้องทํานองหนึ่ง, เช่น สวดสรภัญญะ ทำนองสรภัญญะ. (ป.).
  41. สรภู : [สะระ] น. ตุ๊กแก. (ป.).
  42. สรรพ, สรรพ : [สั, สัพะ] ว. ทุกสิ่ง, ทั้งปวง, ทั้งหมด, เช่น พร้อมสรรพ งามสรรพ เสร็จสรรพ สรรพสิ่ง สรรพสินค้า. (ส. สรฺว; ป. สพฺพ).
  43. สรรเพชญ : (แ) น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว, พระนามของพระพุทธเจ้า, สรรพัชญ ก็เรียก. (ส. สรฺวชฺ?; ป. สพฺพญฺญู).
  44. สรรเพชุดา : [สันเพดชุ] (แ) น. ความเป็นผู้รู้ทุกสิ่ง หมายเอาความเป็น พระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺ?าตฺฤ; ป. สพฺพญฺญุตา).
  45. สรรเพชุดาญาณ : น. ญาณหรือปัญญาที่รู้ทุกสิ่ง หมายเอาญาณของ พระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺ?าน; ป. สพฺ??ฺญุต?าณ).
  46. สระ ๑ : [สะ] น. แอ่งนํ้าขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเองหรือคนขุด. (ป. สร; ส. สรสฺ).
  47. สระ ๒ : [สะหฺระ] น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้น และริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วน หนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกัเสียง พยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระ เช่น ะ า, รูปสระ ก็เรียก. (ป. สร; ส. สฺวร).
  48. สระ ๕ : [สะระ] น. เสียง. (ป.; ส. สฺวร).
  49. สร้าง ๒ : [ส้าง] น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สำหรัพระสงฆ์นั่งสวด พระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมพระเมรุ, ซ่าง คดซ่าง คดสร้าง สำซ่าง หรือ สำสร้าง ก็เรียก. (เทีย ส. ศมฺศาน; ป. สุสาน).
  50. สริตะ : [สะริตะ] น. แม่นํ้า, ลําธาร. (ส.; ป. สริตา).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | [4051-4100] | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1186 sec)