Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 4401-4450
  1. อกตเวทิตา : [อะกะตะ] น. ความเป็นผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ความเป็นผู้ไม่ตอแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกั อกตัญญุตา. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ + ตา ว่า ความเป็น].
  2. อกตเวที : [อะกะตะ] น. ผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ผู้ไม่ ตอแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกั อกตัญญู. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ].
  3. อกตัญญุตา : [อะกะตัน] น. ความเป็นผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. (ป.).
  4. อกตัญญู : [อะกะตัน] น. ผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. (ป.).
  5. อกนิษฐ์ : [อะกะ] น. รูปพรหมชั้นสูงสุดในพรหม ๑๖ ชั้น. (ส. อกนิษฺ?; ป. อกนิฏฺ?). ว. ใหญ่ที่สุด, สูงสุด, มากที่สุด.
  6. อกรณีย์ : [อะกะระนี, อะกอระนี] น. กิจที่ไม่ควรทํา. (ป.).
  7. อกัปปิยวัตถุ : น. สิ่งที่ต้องห้ามไม่ให้ริโภคใช้สอย (ใช้แก่ภิกษุ). (ป.).
  8. อกัปปิยโวหาร : น. ถ้อยคําที่ไม่ควรใช้พูด. (ป.).
  9. อกัปปิย, อกัปปิยะ : [อะกัปิยะ] ว. ไม่ควร, ไม่เหมาะ. (ป.).
  10. อกุศลกรรม : [อะกุสนละกํา] น. ความชั่วร้าย, โทษ, าป. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ; ป. อกุสลกมฺม).
  11. อกุศลกรรม : [อะกุสนละกํามะด] น. ทางแห่งความชั่ว, ทาง าป, มี ๑๐ อย่าง คือ กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ และมโนทุจริต ๓. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ + ปถ; ป. อกุสลกมฺมปถ).
  12. อกุศลเจตนา : [อะกุสนละเจดตะนา] น. ความตั้งใจเป็นาป, ความ คิดชั่ว. (ส.; ป. อกุสลเจตนา).
  13. อกุศล, อกุศล : [อะกุสน, อะกุสนละ] ว. ชั่ว, ไม่ดี, ไม่เป็นมงคล. (ส.; ป. อกุสล). น. สิ่งที่ไม่ดี, าป.
  14. อคติ : [อะคะ] น. ความลําเอียง มี ๔ อย่าง คือ ฉันทาคติ = ความลําเอียง เพราะรัก โทสาคติ = ความลําเอียงเพราะโกรธ ภยาคติ = ความลําเอียง เพราะกลัว โมหาคติ = ความลําเอียงเพราะเขลา. (ป.).
  15. อคาธ : [อะคาด] น. เหว. ว. หยั่งไม่ถึง. (ป., ส.).
  16. อคาร : [อะคาระ] น. อาคาร. (ป., ส.).
  17. อฆะ ๑ : [อะคะ] น. ความชั่ว, าป, ความทุกข์ร้อน. (ป., ส.).
  18. อฆะ ๒ : [อะคะ] น. อากาศ, ฟ้า. (ป.).
  19. องก์ : น. ตอนหนึ่ง ๆ ในทละคร แต่ละตอนอาจมีเพียงฉากเดียวหรือ หลายฉากก็ได้. (ป., ส. องฺก).
  20. องคชาต : [องคะ] น. อวัยวะสืพันธุ์ของชาย. (ป., ส. องฺคชาต ว่า อวัยวะสืพันธุ์ของชายหญิง).
  21. องควิการ : [องคะวิกาน] น. ความชํารุดแห่งอวัยวะต่าง ๆ มีตาอด แขนหัก เป็นต้น. (ป.).
  22. องควิเกษป : [องคะวิกะเส] น. ท่าทาง, อาการเคลื่อนไหว. (ส. องฺควิเกฺษป; ป. องฺค + วิกฺเขป).
  23. องควิทยา : [องคะ] น. ความรู้เรื่องลักษณะดีชั่วปรากฏตามร่างกาย. (ส.; ป. องฺควิชฺชา).
  24. องค, องค์ : [องคะ] น. ส่วนของร่างกาย, อวัยวะ, ตัว (ราชาศัพท์ใช้สำหรั พระมหากษัตริย์ พระรมราชินี และพระรมวงศ์ชั้นสูงที่ทรง ได้รัพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น ใช้ว่า พระองค์ เช่น แต่งพระองค์); ส่วนย่อยที่เป็นองค์ประกอ เช่น มรรคมีองค์ ๘; ในราชาศัพท์ใช้ เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะหรือสิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของ กษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คํา) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระรมราโชวาท ๒ องค์; ลักษณนาม ใช้เรียกสิ่งที่เคารพูชาางอย่างในทางศาสนา เช่น พระพุทธรูป ๑ องค์ พระเจดีย์ ๒ องค์, (ปาก) ลักษณนามใช้เรียกภิกษุสามเณร นักวชในศาสนาอื่น เช่น ภิกษุ ๑ องค์ าทหลวง ๒ องค์. (ป., ส. องฺค).
  25. องคาพยพ : [องคาพะย, องคาพะย] น. ส่วนน้อยและใหญ่ แห่งร่างกาย, อวัยวะน้อยใหญ่. (ป. องฺค+ อวยว).
  26. องคุละ : [คุละ] น. นิ้วมือ, นิ้วเท้า. (ป., ส.).
  27. องคุลี : น. นิ้วมือ; ชื่อมาตราวัดแต่โราณ ยาวเท่ากัข้อปลายของ นิ้วกลาง. (ป., ส.).
  28. อจระ : [อะจะระ] ว. เคลื่อนไม่ได้, ไปไม่ได้. (ป., ส.).
  29. อจล : [อะจะละ] ว. ไม่หวั่นไหว, ไม่คลอนแคลน, เช่น อจลศรัทธา. (ป., ส.).
  30. อจินไตย : [จินไต] ว. ที่พ้นความคิด, ไม่ควรคิด, (สิ่งที่เป็นอจินไตยมีอยู่ ๔ อย่างด้วยกัน คือ พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ฌานวิสัย ของผู้ได้ฌาน ๑ วิากแห่งกรรม ๑ ความคิดเรื่องโลก ๑). (ป. อจินฺเตยฺย; ส. อจินฺตฺย).
  31. อจิร, อจิระ : [อะจิระ] ว. ไม่นาน. (ป., ส.).
  32. อเจลก, อเจละ : [อะเจลก] น. คนไม่นุ่งผ้า, คนเปลือย, ชีเปลือย. (ป.).
  33. อชะ : [อะชะ] น. แพะ. (ป., ส.).
  34. อชา : น. แพะตัวเมีย. (ป., ส.).
  35. อชิน : น. หนังรองนั่งของนักพรต; หนังสัตว์, หนังเสือ. (ป., ส.).
  36. อชินี : น. เสือเหลือง. (ป.).
  37. อฏวี : [อะตะ] น. ดง, ป่า, พง. (ป., ส.).
  38. อณิ : น. ลิ่ม, สลัก, ลิ่มที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด; ขอ, ที่สุด. (ป., ส. อาณิ).
  39. อณุ, อณู ๑ : น. มาตราวัดโราณ ๓๖ ปรมาณู เป็น ๑ อณู. ว. เล็ก, น้อย; ละเอียด. (ป., ส. อณุ).
  40. อณู ๒ : น. ส่วนของสารที่ประกอด้วยปรมาณู. (ป., ส. อณุ).
  41. อโณทัย : [อะโนไท] น. พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น. (กร่อนมาจาก อรุโณทัย). (ป. อรุโณทย).
  42. อดิถี : น. แขก, ผู้มาหา. (ป., ส. อติถิ).
  43. อดิเทพ : น. เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ. (ป. อติเทว).
  44. อดิเรกลาภ : [อะดิเหฺรกกะลา] น. อติเรกลาภ, ลาภพิเศษ. (ป., ส. อติเรกลาภ).
  45. อดิเรก, อดิเรก : [อะดิเหฺรก, เหฺรกกะ] ว. พิเศษ. น. ชื่อพรพิเศษที่พระสงฆ์ถวาย พระมหากษัตริย์ ในคําว่า ถวายอดิเรก. (ป., ส.).
  46. อดิศัย : [อะดิไส] ว. เลิศ, ประเสริฐ. (ส.; ป. อติสย).
  47. อดีต, อดีต : [อะดีด, อะดีดตะ] ว. ล่วงแล้ว. น. เวลาที่ล่วงแล้ว. (ป., ส. อตีต).
  48. อดุล, อดุลย, อดุลย์ : [อะดุน, อะดุนละยะ, อะดุน] ว. ชั่งไม่ได้, ไม่มีอะไรเปรีย, ไม่มีอะไรเท่า. (ป., ส. อตุล, อตุลฺย).
  49. อติ : [อะติ] คํานําหน้าคําที่มาจากาลีและสันสกฤตให้มีใจความว่า พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น; ผ่าน, ล่วง, พ้นเลยไป, เขียนเป็น อดิ ก็มี. (ป., ส.).
  50. อติชาตุตร : น. ุตรที่มีคุณสมัติสูงกว่าิดามารดา, อภิชาตุตร ก็ว่า. (ส. อติชาตปุตฺร; ป. อติชาตปุตฺต).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | [4401-4450] | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1331 sec)