Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 4701-4750
  1. อวัสดา : [อะวัดสะดา] น. ฐานะ, ความเป็นอยู่; เวลา, สมัย. (ส. อวสฺถา; ป. อวตฺถา).
  2. อวาจี : น. ทิศใต้. (ป.).
  3. อวิชชา : [อะวิดชา] น. ความไม่รู้แจ้ง หมายถึง ไม่รู้แจ้งในอริยสัจ ๔; ความเขลา. (ป.).
  4. อวิญญาณก : [อะวินยานะกะ, อะวินยานนะกะ] ว. ไม่มีวิญญาณ, ไม่มีชีวิต, ไม่มีจิตใจ. (ป.).
  5. อวิญญู : ว. โง่, ไม่มีความรู้. (ป.).
  6. อวิรุทธ์ : ว. ไม่ขัดข้อง, ไม่ผิดพลาด; สะดวก; มีอิสระ. (ป., ส.).
  7. อวิโรธน์, อวิโรธนะ : [อะวิโรด, อะวิโรทะนะ] น. ความไม่ประพฤติผิดธรรม, ความ ไม่คลาดจากธรรม, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม และ ราชธรรม). (ป., ส.).
  8. อโศก : น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Saraca วงศ์ Leguminosae เช่น อโศกนํ้า (S. indica L.) ดอกสีส้มหรือแสด อโศกเหลือง (S. thaipingensis Cantley ex Prain) ดอกสีเหลือง, โศก ก็เรียก. (ส.; ป. อโสก ว่า ไม่โศก).
  9. อสงไขย : [อะสงไข] ว. มากจนนัไม่ถ้วน. น. ชื่อมาตรานัจํานวนใหญ่ที่สุด คือ โกฏิยกกําลัง ๒๐. (ป. อสงฺเขยฺย; ส. อสํขฺย).
  10. อสนีาต : [อะสะ] น. ฟ้าผ่า, อสุนีาต ก็ว่า. (ป. อสนิปาต).
  11. อสนี, อัสนี : [อะสะ, อัดสะ] น. สายฟ้า, อาวุธพระอินทร์. (ป. อสนิ, อสนี; ส. อศนิ).
  12. อสรพิษ : [อะสอระ] น. สัตว์มีพิษในเขี้ยว มักหมายถึง งูพิษ, โดยปริยายหมายถึง คนที่ลอทำร้ายหรือให้ร้ายผู้มีคุณหรือผู้อื่นด้วยความอิจฉาริษยา เป็นต้น. (ส. อสิร + วีษ; ป. อาสีวิส).
  13. อสังหาริม, อสังหาริมะ : [อะสังหาริมะ, อะสังหาริมมะ] ว. ซึ่งนําเอาไปไม่ได้, เคลื่อนที่ ไม่ได้. (ป.).
  14. อสัญ : [อะสันยะ] ว. ไม่รู้สึกตัว, สิ้นสติ. (ป. อส?ฺ?).
  15. อสัญญี : ว. ไม่มีสัญญา, หมดความรู้สึก, สล. (ป.).
  16. อสัญญีสัตว์ : น. พรหมพวกหนึ่งมีรูปแต่ไม่มีสัญญา ดังมีกล่าวไว้ ในไตรภูมิกถา. (ป. อส?ฺ??สตฺต).
  17. อสัตย์ : ว. ไม่ซื่อสัตย์, ไม่ซื่อตรง, กลักลอก, เช่น คนอสัตย์, อาสัตย์ ก็ว่า. (ส.; ป. อสจฺจ).
  18. อสัมภิน : [อะสำพินนะ] ว. ไม่แตกต่าง, ไม่เจือปน. (ป. อสมฺภินฺน).
  19. อสาธุ : ว. ไม่ดี, ไม่งาม, เลว, ชั่วช้า; น่าละอาย; แผลงใช้ว่า อสาธร ก็ได้. (ป., ส.).
  20. อสิ : น. ดา, มีด, กระี่. (ป., ส.).
  21. อสิตะ : [อะสิตะ] ว. มีสีดํา, มีสีคลํ้า, มีสีแก่. (ป., ส.).
  22. อสิธารา : น. คมดา, คมศัสตรา. (ป., ส.).
  23. อสีตยานุพยัญชนะ : [อะสีตะยานุพะยันชะนะ] น. ลักษณะน้อย ๆ ในร่างกายของผู้ที่เป็น พระมหาุรุษมี ๘๐ อย่าง คือ ผู้ที่จะเป็นพระมหาุรุษต้องสมูรณ์ ด้วยลักษณะสําคัญ ๓๒ อย่าง ซึ่งเรียกว่า มหาปุริสลักษณะ มีรอย พระาทเป็นลายรูปจักรและอื่น ๆ ตามแเป็นต้น และสมูรณ์ ด้วยอสีตยานุพยัญชนะ. (ป.).
  24. อสีติ : [อะ] ว. แปดสิ. (ป.).
  25. อสีติมหาสาวก : น. สาวกใหญ่ ๘๐ องค์ของพระพุทธเจ้า. (ป.).
  26. อสุ : [อะ] น. ลมหายใจ, ชีวิต. (ป., ส.).
  27. อสุจิ : [อะ] ว. ไม่สะอาด, ไม่ริสุทธิ์; เรียกนํ้ากามว่า นํ้าอสุจิ. (ป.).
  28. อสุภกรรมฐาน : [กํามะถาน] น. กรรมฐานที่ยึดเอาซากศพเป็น อารมณ์ เพื่อพิจารณาให้เห็นความไม่งามความไม่เที่ยงแท้ของ สังขาร. (ป. อสุภกมฺมฏฺ?าน).
  29. อสุภ, อสุภ : [อะสุ, อะสุพะ] ว. ไม่งาม, ไม่สวย, ไม่ดี. น. เรียกซากศพว่า อสุภ และเลือนไปเป็น อสภ และ อาสภ ก็มี. (ป.).
  30. อสุร : [อะสุระ] น. อมนุษย์พวกหนึ่งเป็นศัตรูต่อเทวดา, แทตย์, ยักษ์, มาร, ผี. (ป., ส. อสุร).
  31. อสุรกาย : [อะสุระ] น. สัตว์เกิดในอายภูมิพวกหนึ่ง เชื่อกันว่า ชอเที่ยวหลอกหลอนคน, คู่กั เปรต. (ป.).
  32. อสุรา, อสุรี, อสุเรศ : (กลอน) น. อสูร, ยักษ์. (ป.).
  33. อสูร : [อะสูน] น. ยักษ์, ในทกลอนใช้ว่า อสุรา อสุรี หรือ อสุเรศ ก็มี. (ป. อสุร).
  34. อเสกข, อเสกขะ : [อะเสกขะ] น. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก หมายถึง พระอรหันต์. (ป.).
  35. อหังการ : [อะ] น. การยึดว่าเป็นตัวเรา; ความเย่อหยิ่งจองหอง, ความทะนงตัว, ความก้าวร้าวด้วยการถือว่าตนเองสำคัญ. ก. หยิ่ง, จองหอง, อวดดี. (ป., ส.).
  36. อหิ : [อะ] น. งู. (ป., ส.).
  37. อหิงสา, อหึงสา : [อะ] น. ความไม่เียดเียน, การเว้นจากการทําร้าย. (ป., ส.).
  38. อหิวาต์, อหิวาตกโรค : [อะหิวาตะกะ] น. ชื่อโรคระาดชนิดหนึ่ง มีอาการลงราก. (ป.).
  39. อเหตุกทิฐิ : [อะเหตุกะทิดถิ] น. ความเห็นว่าาปุญในโลกไม่มีเหตุไม่มีปัจจัย เป็นความเห็นของเดียรถีย์พวกหนึ่ง. (ป. อเหตุกทิฏฺ??).
  40. อโหสิกรรม : [อะ] น. กรรมที่เลิกให้ผล; การเลิกแล้วต่อกัน, การ ไม่เอาโทษแก่กัน. (ป. อโหสิกมฺม).
  41. อักกะ : น. พระอาทิตย์; ต้นรัก. (ป.; ส. อรฺก).
  42. อักโกธะ : น. ความไม่โกรธ, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม). (ป.).
  43. อักขรวิธี : น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. (ป.).
  44. อักขรสมัย : [อักขะหฺระสะไหฺม] น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่าน การเขียน. (ป.).
  45. อักขร, อักขระ : [อักขะหฺระ] น. ตัวหนังสือ. (ป.; ส. อกฺษร).
  46. อักขะ ๑ : [ขะ] น. เพลา, เพลาเกวียนหรือรถ; เกวียน; กระดูกไหปลาร้า. (ป.; ส. อกฺษ).
  47. อักขะ ๒ : [ขะ] น. ลูกเต๋า, ลูกาศก์; การพนันเล่นลูกเต๋าหรือสกา. (ป.; ส. อกฺษ).
  48. อักขะ ๓ : [ขะ] น. ดวงตา; ความรู้สึก. (ป.; ส. อกฺษ).
  49. อักโขภิณี, อักโขเภณี : น. จํานวนนัอย่างสูง คือ ๑ มีศูนย์ตาม ๔๒ ตัว; กองทัพอินเดีย โราณที่มีกระวนรพร้อมมูลตามกําหนด; ใช้ว่า อักเษาหิณี ก็มี. (ป.; ส. อกฺเษาหิณี).
  50. อักษร, อักษร : [อักสอน, อักสอระ, อักสอน] น. ตัวหนังสือ, วิชาหนังสือ เช่น ฉลาดรอรู้ในอักษรสยาม. (ส.; ป. อกฺขร).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | [4701-4750] | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1147 sec)