Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 4951-5000
  1. อานุภาพ, อานุภาวะ : น. อํานาจ, ฤทธิ์เดช, ความยิ่งใหญ่. (ป., ส.).
  2. อาัติ : น. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ มีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. โทษสถานหนัก เรียกว่า ครุโทษ หรือ มหันตโทษ ทําให้ภิกษุผู้ต้องอาัติขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่ อาัติปาราชิก ซึ่งเรียกว่า ครุกาัติ ๒. โทษสถานกลาง เรียกว่า มัชฌิมโทษ ทําให้ภิกษุผู้ต้องอาัติต้องอยู่กรรมก่อนจึงจะพ้นโทษ ได้แก่ อาัติสังฆาทิเสส และ ๓. โทษสถานเา เรียกว่า ลหุโทษ ทําให้ภิกษุผู้ต้องอาัติที่ตํ่ากว่าอาัติสังฆาทิเสสต้องปลงอาัติ คือ อกอาัติของตนแก่ภิกษุด้วยกัน ได้แก่ อาัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต ซึ่งเรียกว่า ลหุกาัติ. (ป., ส. อาปตฺติ).
  3. อาัน : ก. ต้อง เช่น อาัติอาัน ว่า ต้องอาัติ; ถึง, ลุ, เช่น โสดาัน ว่า ถึงโสตธรรม คือ กระแสพระนิพพาน. (ป., ส. อาปนฺน).
  4. อาปณกะ : [นะกะ] น. พ่อค้า. (ป.).
  5. อาปณ, อาปณะ : [ปะนะ] น. ตลาด, ร้านขายของ. (ป., ส.).
  6. อาปาน, อาปานะ : [นะ] น. การดื่ม, การเลี้ยง. (ป., ส.).
  7. อาโปธาตุ : น. ของเหลวที่เอิอาซาซึมไปได้ นัเป็นธาตุ ๑ ใน ธาตุทั้ง ๔ คือ ๑. ปฐวีธาตุ = ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ = ธาตุนํ้า ๓. เตโชธาตุ = ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ = ธาตุลม. (ป., ส.).
  8. อาพัทธ์ : ก. ผูกพัน, ติดพัน, เกี่ยวพัน. (ป., ส.).
  9. อาพันธ์, อาพันธนะ : น. เครื่องผูก, การผูก. (ป., ส.).
  10. อาพาธ : [พาด] ก. เจ็ป่วย (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). (ป., ส.).
  11. อาพาธิก, อาพาธึก : ว. เป็นไข้, เจ็ป่วย, เป็นโรค. (ป., ส.).
  12. อาพิล : [พิน] ว. ขุ่นมัว, เศร้าหมอง. (ป., ส. อาวิล).
  13. อาภรณ์ : [พอน] น. เครื่องประดั, างทีก็ใช้เป็นส่วนท้ายของคําสมาส เช่น พัสตราภรณ์ = เครื่องประดัคือเสื้อผ้า สิราภรณ์ = เครื่อง ประดัศีรษะ คชาภรณ์ = เครื่องประดัช้าง พิมพาภรณ์ = เครื่อง ประดัร่างกาย ในคําว่า ถนิมพิมพาภรณ์ ธรรมาภรณ์ = มีธรรมะ เป็นเครื่องประดั. (ป., ส.).
  14. อาภัพ : [พั] ว. ปราศจากโชค, เคราะห์ร้าย, วาสนาน้อย, ตกอั. (ป. อภพฺพ ว่า ไม่สมควร).
  15. อาภัสระ : [พัดสะระ] น. ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ในรูปพรหม ๑๖ ชั้น, เรียก พรหมซึ่งอยู่ชั้นนี้ว่า อาภัสรพรหม. ว. สว่าง, สุกใส, เปล่งปลั่ง. (ป. อาภสฺสร).
  16. อาภา : น. แสง, รัศมี, ความสว่าง. (ป., ส.).
  17. อาภากร : น. พระอาทิตย์. (ป., ส.).
  18. อาภาส : [พาด] น. รัศมี, แสงสว่าง. (ป., ส.).
  19. อามลกะ : [มะละกะ] น. มะขามป้อม. (ป., ส.).
  20. อามัย : น. ความป่วยไข้, โรค, ความไม่สาย, ตรงข้ามกั อนามัย คือ ความสาย ความไม่มีโรค. (ป., ส.).
  21. อามิษ, อามิส, อามิส : [อามิด, อามิดสะ] น. สิ่งของวัตถุเครื่องล่อใจมีเงินเป็นต้น, เช่น อย่าเห็นแก่อามิสสินจ้าง. (ส. อามิษ; ป. อามิส).
  22. อายตนะ : [ยะตะนะ] น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกัอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. (ป., ส.).
  23. อายตะ : [ยะตะ] ว. ยืด, แผ่ออกไป, กว้างขวาง, ยาว. (ป., ส.).
  24. อายน : [ยน] น. การมาถึง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น เมษายน คือ เมษ + อายน แปลว่า การมาถึงราศีเมษ. (ป., ส.).
  25. อายาจนะ : [จะนะ] น. การขอร้อง, การวิงวอน, การเชื้อเชิญ. (ป.).
  26. อายานะ : น. การมา, การมาถึง. (ป., ส.).
  27. อายุ : น. เวลาที่ดํารงชีวิตอยู่, เวลาชั่วชีวิต, ช่วงเวลานัตั้งแต่เกิดหรือมีมา จนถึงเวลาที่กล่าวถึง, ระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น อายุใอนุญาต ยานี้หมดอายุแล้ว, ระยะเวลาที่กําหนดรู้ความยั่งยืนของสิ่งนั้น ๆ เช่น อายุของหิน. (ป.; ส. อายุสฺ หรือ อายุษฺ เมื่อนําหน้าางคํา, แต่เมื่อนําหน้าอักษรตํ่ากัตัว ห เปลี่ยน สฺ เป็น รฺ เช่น อายุรเวท, แต่ถ้าใช้อย่างาลีก็ไม่ต้องมี ส หรือ ร).
  28. อายุกตกะ, อายุตกะ : [ยุกตะกะ, ยุดตะกะ] น. นายส่วย, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่. (ส. อายุกฺตก; ป. อายุตฺตก).
  29. อายุกษัย : [กะไส] น. การสิ้นอายุ, ความตาย. (ส.; ป. อายุขย).
  30. อายุขัย : น. การสิ้นอายุ, ความตาย; อัตรากําหนดอายุจนสิ้นอายุ. (ป.; ส. อายุกฺษย).
  31. อายุธ : [ยุด] น. อาวุธ. (ส.; ป. อายุธ, อาวุธ).
  32. อายุวัฒนะ : น. เรียกยาที่ถือว่ากินแล้วมีอายุยืนว่า ยาอายุวัฒนะ. (ป.).
  33. อารดี, อารติ : [อาระดี, ติ] น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารัติ ก็ว่า. (ป. อารติ).
  34. อารมณ์ : น. สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น รูปเป็นอารมณ์ของตา เสียงเป็นอารมณ์ของหู, เครื่องยึดถือเป็นจริง เป็นจัง เช่น เรื่องนี้อย่าเอามาเป็นอารมณ์เลย; ความรู้สึกทางใจที่ เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า เช่น อารมณ์รัก อารมณ์โกรธ อารมณ์ดี อารมณ์ร้าย; อัธยาศัย, ปรกตินิสัย, เช่น อารมณ์ขัน อารมณ์เยือกเย็น อารมณ์ร้อน; ความรู้สึก เช่น อารมณ์ค้าง ใส่อารมณ์, ความรู้สึกซึ่ง มักใช้ไปในทางกามารมณ์ เช่น อารมณ์เปลี่ยว เกิดอารมณ์. ว. มี อัธยาศัย, มีปรกตินิสัย, เช่น เขาเป็นคนอารมณ์เยือกเย็น เขาเป็นคน อารมณ์ร้อน. (ป. อารมฺมณ).
  35. อารย, อารยะ : [อาระยะ] ว. เจริญ. (ส.; ป. อริย).
  36. อารักขา : ก. ป้องกัน, คุ้มครอง, ดูแล. น. การป้องกัน, ความคุ้มครอง, ความดูแล. (ป.).
  37. อารักษ์ : น. การป้องกัน, ความคุ้มครอง, ความดูแล; เทวดาผู้พิทักษ์รักษา, มักใช้ว่า เทพารักษ์ หรือ อารักษเทวดา. (ส.; ป. อารกฺข).
  38. อารัญญิก, อารัณยกะ ๑ : [รันยิก, รันยะกะ] ว. เกี่ยวกัป่า, เกิดในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ??ก; ส. อารณฺยก).
  39. อารัญ, อารัณย์ : ว. อยู่ในป่า, มีในป่า. (ป. อาร?ฺ?; ส. อารณฺย).
  40. อารัติ : [รัด] น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารดี หรือ อารติ ก็ว่า. (ป., ส. อารติ).
  41. อารัมภ, อารัมภะ, อารัมภ์ : [อารำพะ] น. การปรารภ มักใช้เป็นส่วนหน้าของคำสมาส เช่น อารัมภท อารัมภกถา; การเริ่มต้น, การตั้งต้น, ในคำว่า วิริยารัมภะ = การเริ่มต้นความเพียร; ความเพียร. (ป., ส.).
  42. อาราธน์, อาราธนา : [อาราด, อาราดทะนา] ก. เชื้อเชิญ, นิมนต์, อ้อนวอน, (ใช้แก่ พระภิกษุสามเณรและสิ่งศักดิ์สิทธิ์); ขอ. (ป., ส.).
  43. อาราม ๑ : น. วัด; สวนเป็นที่น่ารื่นรมย์. (ป., ส.).
  44. อารามิก : น. เกี่ยวกัวัด, ชาววัด. (ป.).
  45. อาลปน์, อาลปนะ : [อาล, อาละปะนะ] น. การพูด, การสนทนา, การเรียก, การทักทาย; ในไวยากรณ์ หมายถึง คําที่ใช้เรียกหรือทักทายผู้ที่ตนจะพูดด้วย เช่น ''นายแดง แกจะไปไหน'' คํา ''นายแดง'' เป็นอาลปนะ. (ป., ส.).
  46. อาลัย ๑ : ก. ห่วงใย, พัวพัน, ระลึกถึงด้วยความเสียดาย. น. ความห่วงใย, ความพัวพัน, ความระลึกถึงด้วยความเสียดาย. (ป., ส. อาลย).
  47. อาลิ, อาลี : น. ทําน, คันนา; แถว, แนว, เช่น พนาลี ว่า แนวป่า. (ป., ส.).
  48. อาโลกกสิณ : [โลกะกะสิน] น. การเจริญสมถกรรมฐานโดยตั้งใจ เพ่งแสงสว่างเป็นอารมณ์. (ป.).
  49. อาโลก, อาโลก : [โลก, โลกะ] น. แสงสว่าง, ความสว่าง; การดู, การเห็น, สิ่งที่เห็น. (ป., ส.).
  50. อาวรณ์ : [วอน] ก. ห่วงใย, อาลัย, คิดกังวลถึง, นิยมใช้เข้าคู่กัคำ อาลัย เป็น อาลัยอาวรณ์. น. เครื่องกั้น, เครื่องกําัง. (ป., ส.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | [4951-5000] | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1096 sec)