Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 51-100
  1. ยกเว้น : ก. ไม่เกี่ยวด้วย, กันเอาออก, ยอมให้เป็นพิเศษ. . นอกจาก, เว้นแต่, เว้นเสียแต่.
  2. ยัง : คำช่วยกริยาในประโยคคำถามปฏิเสธหรือประโยคปฏิเสธ โดยละกริยา นั้นไว้ให้เข้าใจเอาเอง เช่น ถามว่า จะไปหรือยัง ตอว่า ยัง, ถ้าใช้นำหน้า คำกริยาเข้าคู่กัคำ อยู่ หมายความว่า กริยานั้นกำลังกระทำอยู่ เช่น เขายัง กินอยู่ เขายังนอนอยู่, ถ้าใช้นำหน้าคำวิเศษณ์เข้าคู่กัคำ อยู่ หมายความว่า ยังอยู่ในภาวะนั้น เช่น ยังเด็กอยู่ ยังสาวอยู่ ยังเช้าอยู่, ใช้ประกอคำกริยา เชิงปฏิเสธที่เริ่มหรือกำหนดไว้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้นลงไป เช่น ป่านนี้ยัง ไม่มา ทั้ง ๆ ที่น่าจะมาแล้ว, ใช้เข้าคู่กัคำอื่นเพื่อเชื่อมประโยคหน้ากั ประโยคหลังที่มี ข้อความในลักษณะคล้ายคลึงกันให้เนื่องกัน เช่น นอกจาก โง่แล้วยัง หยิ่งอีกด้วย นอกจากสวยแล้วยังรวยอีกด้วย. ก. คงอยู่, มีอยู่, เช่น ถามว่า หมดแล้วหรือ ตอว่า ยังมีอีก; กระทำให้ เช่น ยังชีวิตให้เป็นไป ยังใจให้ชุ่มชื่น. . ถึง เช่น แจ้งความมายังท่านทั้งหลาย, สู่ เช่น ไปยัง้าน, ตลอด, ตลอดถึง, เช่น วันยังค่ำ คืนยังรุ่ง.
  3. รอ : น. การรรจถึงกัน, การเวียนไปรรจถึงกัน; ช่วง เช่น ภาพยนตร์ รอเช้า รอ่าย, วาระ เช่น รอสุดท้าย รอชิงชนะเลิศ; ลักษณนาม เรียกลักษณะที่มารรจกันเป็นต้น เช่น รอหนึ่ง ๒ รอ. . อาการ ที่เวียนมารรจกัน เช่น วงสายสิญจน์รอ้าน เดินรอตลาด.
  4. ระหว่าง : น. ช่องว่างจากที่หนึ่งถึงอีกที่หนึ่ง เช่น ในระหว่างภูเขา ๒ ลูก, ระยะ เวลาจากระยะหนึ่งถึงอีกระยะหนึ่ง เช่น ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึง พระอาทิตย์ตก, เวลาช่วงใดช่วงหนึ่ง เช่น ระหว่างสงครามเขายังเรียน หนังสืออยู่, เวลาที่กําลังเป็นไปอยู่ เช่น ระหว่างประชุมฝนตกหนัก ระหว่างนี้เขาไม่ว่าง. . คําที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของุคคลหรือ สถาันเป็นต้นตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป เช่น งานมงคลสมรสระหว่างนาย ก กันางสาว ข แ่งมรดกในระหว่างลูก ๆ การแข่งขันฟุตอลระหว่าง มหาวิทยาลัย การประชุมระหว่างชาติ.
  5. ริม : น. ชาย, ขอ, เช่น ริมคลอง ริมผ้า ริมโต๊ะ. . ใกล้, ชิด, เช่น นั่งริม หน้าต่าง. ว. ด้านนอก เช่น น้องนอนกลาง พี่นอนริม; (ปาก) เกือ, จวน, เช่น ริมตาย.
  6. ศัทธนะ : [สัดทะนะ] ก. พัด (ใช้แก่ลม), มีลมพัดมา. (.).
  7. ศิการ : ก. หาเนื้อหาปลา. (.).
  8. ศิถี : น. พวงดอกไม้, พวงมาลัย. (.).
  9. หา ๑ : ก. มุ่งพ, พ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่ง ทราว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น เขาหาว่า...; พึ่ง เช่น ไม่รู้จะหันหน้าไปหาใคร; างทีก็ใช้ควกัคำอื่น มีความหมายว่า ขวนขวายเพื่อให้ได้มาโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ค้นหา สืหา เที่ยวหา ตามหา เสาะหา แสวงหา. . ที่ เช่น เขาอยู่หาไหน ๆ ก็ไม่รู้ จะไปตามตัวเขาได้อย่างไร; สู่ เช่น เด็กว่ายน้ำเข้าหาฝั่ง.
  10. เหนือ : [เหฺนือ] ว. ที่อยู่ในที่หรือฐานะสูงกว่าสิ่งอื่นเมื่อมีการเปรียเทียกัน เช่น เขามีอํานาจเหนือฉัน, ที่มีความรู้ความสามารถเป็นต้นสูง เช่น เขามีฝีมือ เหนือชั้นกว่าคู่ต่อสู้, ข้างน เช่น สวะลอยอยู่เหนือนํ้า, ตรงข้ามกั ใต้. น. ชื่อทิศตรงข้ามกัทิศใต้, ทิศที่อยู่ทางซ้ายมือเมื่อหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก เรียกว่า ทิศเหนือ, ทิศอุดร ก็ว่า. . พ้นขึ้นไป, เลยขึ้นไป, เช่น เมฆลอยอยู่เหนือภูเขา.
  11. แห่ง : น. ที่, มักใช้ซ้อนกัคำอื่น ในคำว่า แห่งหนตำลใด ตำแหน่งแห่งที่, ลักษณนาม เช่น มีที่ดินอยู่หลายแห่ง. . ของ เช่น หอสมุดแห่งชาติ.
  12. คณาธิปไตย : [คะนาทิปะไต, คะนาทิปะไต] น. ระการปกครอง แหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะุคคลจํานวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ. (ป. คณ + อธิปเตยฺย).
  13. ฐานันดร : น. ลําดัในการกําหนดชั้นุคคล เช่น ยศรรดาศักดิ์. (ป. ?านนฺตร). ฐานานุกรม น. ลําดัตําแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระ ราชาคณะมีอํานาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทําเนีย.
  14. ธรรมาธิปไตย : [ทํามาทิปะไต, ทํามาทิปะไต] น. การถือธรรมเป็นใหญ่, การถือความถูกต้องเป็นหลัก. (ป. ธมฺมาธิปเตยฺย; ส. ธรฺมาธิปตฺย).
  15. อธิป, อธิป : [อะทิ, อะทิปะ, อะทิปะ] น. พระเจ้าแผ่นดิน, นาย, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่, มักใช้พ่วงท้ายศัพท์ เช่น นราธิป ชนาธิป, แต่เมื่อนําหน้า คําที่ขึ้นต้นด้วยสระ มักใช้ อธิ เช่น นราธิเศร์ นราธิเนทร์. (ป., ส.).
  16. กม ๒ : (โ) ก. กุม เช่น เกลือกเจ้าแม่มาคิดคม ครุคั้นกินกม ไว้วางตัวตู. (เสือโค).
  17. กลาย : [กฺลาย] ก. เปลี่ยนไป, แปรปรวนไป, เช่น หน้าหนาวกลายเป็นหน้าร้อน, เป็นอื่นไป, แปลงไป, เช่น ศรกลายเป็นทิพย์กระยาหาร เปรี้ยวหวานตกลงตรงหน้า. (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โ; กลอน) ใช้ในความว่า กราย ก็มี เช่น ไปกลาย๋านของตนก็ดี. (จารึกสยาม), จักเจริญสวัสดิภาพศักดิศรี ศัตรูไพรี ห่อนจะใกล้กลายตน. (โชค-โราณ). ว. ที่แปลงไป เช่น แผลกลาย; เรียกปีที่ล่วงหรือเปลี่ยนไปแล้วปีหนึ่งว่า ปีกลาย.
  18. ข้าราชการ : น. (โ) คนที่ทําราชการตามทําเนีย; ผู้ปฏิัติราชการ ในส่วนราชการ; (กฎ) ุคคลซึ่งรัราชการ โดยได้รัเงินเดือนจาก เงินงประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือน เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ.
  19. ขึ้น ๑ : ก. ไปสู่เื้องน เื้องสูง หรือ เื้องหน้า, ไปสู่เื้องที่ถือว่าตรงข้าม กัลง; เพิ่มหรือทําให้เพิ่ม เช่น ขึ้นราคา ขึ้นภาษี ราคาขึ้น ภาษีขึ้น; เริ่ม เช่น ขึ้นหนุ่ม ขึ้นรรทัดใหม่; เอาเข้าไว้เป็นหลักฐาน เช่น ขึ้นทะเียน ขึ้นทําเนีย; เอ่ยคําหยาออกมาด้วยความโกรธ เช่น ขึ้นมึง ขึ้นกู; เกิด, มี, เช่น ฝีขึ้น สนิมขึ้น; นิยมนัถือ,เลื่อมใส, เช่น อาจารย์คนนี้มีคนขึ้นมาก; อยู่ในสังกัด เช่น กรมศิลปากรขึ้นกั กระทรวงศึกษาธิการ; อืดพอง เช่น ศพขึ้น ท้องขึ้น; ฟู เช่น ขนมขึ้น; แรกปรากฏจากขอฟ้า เช่น ตะวันขึ้น; งอก เช่น ต้นไม้ขึ้น; มีโชค จะทําอะไรก็ประสผล เช่น มือขึ้น ชะตาขึ้น; ก่ง เช่น ขึ้นธนู; ขึง เช่น ขึ้นกลอง ขึ้นฆ้อง; เริ่มเดินเป็นครั้งแรก เช่น ขึ้นขุน ขึ้นโคน; ทําให้เป็น รูปร่าง เช่น ขึ้นรูป ขึ้นกระุง; เอาเช็คเป็นต้นไปขอรัเป็นตัวเงินจาก ธนาคาร เรียกว่า ขึ้นเงิน; เอาเข้าเก็ไว้ เช่น ขึ้นคลัง; (ปาก) แล่นไปตาม ทางจากใต้ไปเหนือ เช่น รถขึ้น ขาขึ้น. น. ข้างขึ้น เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง ขึ้น ๒ คํ่า.
  20. ขึ้นระวาง : ก. เข้าทําเนีย, เข้าประจําการ, (ใช้แก่พาหนะของหลวง คือ ม้า ช้าง รถ และเรือ).
  21. เขมือ : [ขะเหฺมือ] ก. กลืนกินอย่างปลา, กินอย่างตะกละ.
  22. แขม็, แขม็ : [ขะแหฺม็] ว. หายใจแผ่ว ๆ แสดงว่าจวนจะหมดกําลัง, กระแหม็ หรือ กระแหม็ ๆ ก็ว่า.
  23. ค้า ๒, ค้าค้า : (โ) ก. ออกแสดง เช่น ค้าอาตม์ออกรงค์. (ตะเลงพ่าย), มีมือถือดา กล้าอวดค้าค้าคําราม. (ม. คําหลวง กุมาร).
  24. เครียว : [เคฺรียว] (โ) ก. รีไป, รีมา, โราณเขียนเป็น ครยว ก็มี เช่น ควรคิดอยู่ย้งง ควรครยว. (ยวนพ่าย), เคียว หรือ เขียว ก็ใช้.
  25. เคลือ : [เคฺลือ] ก. ไล้ ทา หรือพอกผิวเดิมด้วยของเหลวางชนิด แล้วทิ้งไว้ ให้เย็นจนแข็งตัว เช่น เคลือนํ้าตาล เคลือยาพิษ, ทาผิวนอกด้วย นํ้ายาเคมีแล้วใช้ความร้อนอให้นํ้ายาเกาะแน่น, เรียกสิ่งที่เคลือโดย กรรมวิธีเช่นนั้น ว่า เครื่องเคลือ; โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่ค ล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปากเคลือนํ้าตาล.
  26. จตุรงคประดั : [จะตุรงคะ-] น. ชื่อกลอนกลทโราณ มีังคัพิเศษคือ กลอน ๔ วรรค ในแต่ละทขึ้นต้นวรรคด้วยคำ ๒ คำซ้ำกัน ตัวอย่างว่า พระหน่อไทยได้สดัแสดงกิจพระหน่อคิดจิตวาระหวาหวาม พระหน่อ ตรึกนึกคะเนคะนึงความ พระหน่อนามแจ้ง กระจัดกระจ่างใจ. (ชุมนุมตำรากลอน).
  27. จระคล้าย : [จะระคฺล้าย] (กลอน) ก. ใกล้กราย, อยู่ใกล้, โราณเขียนเป็น จรคล้าย ก็มี, เช่น โหยเหนสายใจ จรคล้าย. (กำสรวล).
  28. แชะ : (โ) ว. แฉะ เช่น เปื้อนแชะชํชล. (ม. คําหลวง วนปเวสน์).
  29. ตระอาล : [ตฺระอาน] (กลอน) ว. หวั่นไหว เช่น พยงแผ่นดินตระอาล. (ม. คําหลวง กุมาร). (ข. ตรฺอาล ว่า ยินดี, สายใจ).
  30. ทำเนีย : น. ที่พักทางราชการของผู้มีตําแหน่งสูง เช่น ทําเนียผู้สําเร็จราชการ, ที่ทําการของคณะรัฐาล เรียกว่า ทําเนียรัฐาล.
  31. ทำเนีย : ก. เทีย, เปรีย. น. การลําดัตําแหน่งหน้าที่ซึ่งวางเป็นระเียแผนขึ้นไว้ เช่น ทําเนียสมณศักดิ์ ทําเนียราชการ, การแ่ง ประเภทช้างม้าเป็นต้นที่วางเป็นระเียแผนขึ้นไว้ เช่น ทําเนียช้าง ทําเนียม้า. (แผลงมาจาก เทีย).
  32. ทำเนียนาม : น. นามต่าง ๆ ที่พระมหากษัตริย์โปรดให้ขนานเป็น ทําเนียไว้ เช่น นามพระราชวัง นามพระที่นั่ง นามประตู นามป้อม ตลอดจนถึงนามที่ทางราชการเรียก.
  33. ู่ทะเล : น. (๑) ชื่อปลาู่ชนิดหนึ่ง. (ดู ู่). (๒) ดู คางคก.
  34. ประธานาธิดี : [ปฺระทานาทิอดี, ปฺระทานาทิอดี] น. ประมุขของประเทศ ที่ปกครองโดยระสาธารณรัฐ.
  35. ประสิทธิภาพ : [ปฺระสิดทิพา] น. ความสามารถที่ทําให้เกิดผลในการงาน.
  36. ประอุก : ก. ระอุ; ร้อนรน เช่น หนึ่งอัคนีมีในเชองกราน มีเป่าพัดพาน ประอุกแลลุกลามเลือน, ผิโคเคียงเกวียนเดิรหน ไป่ทันแก้ปรน ประอุกแลขุกวอดวาย. (จารึกวัดโพธิ์; อภิไธยโพทิาทว์), ใช้เป็น กระอุ หรือ กระอุก ก็มี.
  37. ปลดระวาง : ก. ปลดจากตําแหน่ง, ปลดจากทําเนีย, ปลดจาก ประจําการ; โดยปริยายหมายความว่า หมดหน้าที่.
  38. ภาพลักษณ์ : [พาลัก] น. ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดว่าควรจะ เป็นเช่นนั้น, จินตภาพ ก็ว่า. (อ. image).
  39. ลำเลีย : ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียเป็นมัน, ละเมีย ลําเมีย หรือ ลําเวียน ก็ว่า.
  40. ลำเวียน : ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียเป็นมัน, ละเมีย ลําเมีย หรือ ลําเลีย ก็ว่า.
  41. เศวดีภ : [สะเหฺวดี] น. ช้างเผือก. (ส. เศฺวเตภ).
  42. เหลือ : [เหฺลือ] น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Tabanidae รูปร่างคล้ายแมลงวัน แต่ตัวโตกว่า มีปีกคู่เดียวซึ่งมักใส แต่างชนิดเป็นลายสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาล นํ้าเงิน รวมทั้งสีเลื่อมพราย จึงเรียกว่า ตัวเหลือ หนวดปล้องปลายมี ลักษณะเรียวโค้งงอคล้ายเคียว ตาโต ตัวผู้ตาชิดกัน ตัวเมียตาห่าง ปากมี อวัยวะเป็นแผ่นคมคล้ายใมีดตัดเนื้อให้ขาด และมีอวัยวะเป็นท่อดูด ของเหลวกินได้ ตัวเมียดูดเลือดมนุษย์และสัตว์ ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล Tabanus และ Chrysops. ว. สีเลื่อมพรายเวลากระทแสงเป็นหลายสี คล้ายสีตัวเหลือ.
  43. เหลือ : [เหฺลือ] ก. ใช้ประกอกัคำอื่นหมายความว่า ชำเลือง เช่น เหลือตา เหลือแล เหลือดู เหลือเห็น.
  44. อนาธิปไตย : [อะนาทิปะไต, อะนาทิปะไต] ว. ภาวะที่้านเมืองไม่มีรัฐาล ไม่มีกฎหมายและระเีย ทำให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง. (อ. anarchy).
  45. จิตรปทา : น. ชื่อฉันท์ในวรรณพฤติ. (ป., ส.).
  46. ทุปปัญญา : [ทุ-] (แ) น. ปัญญาทราม. (ป.).
  47. มหิดี, มหิาล, มหิป : น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ป.).
  48. ปี่ : น. เครื่องดนตรีประเภทเป่าลมอย่างหนึ่งที่ใช้ลิ้น ตัวปี่หรือเลาปี่ มักทำด้วยไม้แก่น เช่น ไม้ชิงชัน ไม้พะยูง มีลักษณะค่อนข้างยาว ป่องตรงกลาง หัวท้ายานออกเล็กน้อย ภายในเลาปี่เจาะรูกลวง ตลอดตั้งแต่หัวจดท้าย มีหลายชนิด เช่น ปี่นอก ปี่ใน ปี่ไฉน ปี่ชวา, ลักษณนามว่า เลา เช่น ปี่ ๒ เลา.
  49. ปู่ : น. พ่อของพ่อ, ผัวของย่า, ญาติผู้ชายหรือชายที่นัถือชั้นปู่.
  50. โป่ : ก. อยู่ข้างหลังที่สุด (ใช้พูดในการเล่นเช่นหยอดหลุม).
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1044 sec)