Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 5101-5150
  1. อุตสาห, อุตส่าห์, อุตสาหะ : น. ความากั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความอดทน, ใช้ว่า อุษาหะ อุสสาหะ หรือ อุสส่าห์ ก็มี. ก. ากั่น, พยายาม, ขยัน, อดทน. (ส. อุตฺสาห; ป. อุสฺสาห).
  2. อุตุ ๑ : น. ฤดู. (ป.; ส. ฤตุ).
  3. อุท : [อุทะ] น. นํ้า. (ป., ส.).
  4. อุทกธาร, อุทกธารา : น. สายนํ้า, ท่อนํ้า. (ป., ส.).
  5. อุทกภัย : น. ภัยอันตรายที่เกิดจากนํ้าท่วม. (ป., ส. อุทก + ภย).
  6. อุทกวิทยา : น. วิชาว่าด้วยนํ้าที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุ การเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของนํ้า รวมทั้งการ นํานํ้ามาใช้ให้เป็นประโยชน์. (ป., ส. อุทก + ส. วิทฺยา).
  7. อุทกศาสตร์ : น. วิชาว่าด้วยนํ้านพื้นโลกเกี่ยวกัการวัดหรือการ สํารวจแผนที่ทะเล โดยมีความมุ่งหมายเฉพาะเพื่อการเดินเรือ. (ป., ส. อุทก + ส. ศาสฺตฺร).
  8. อุทก, อุทก : [อุทกกะ, อุทก] น. นํ้า. (ป., ส.).
  9. อุททาม : [อุด] ว. คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยวรั้ง. (ป. อุทฺทาม).
  10. อุทธรณ์ : [อุดทอน] น. การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, การเคลื่อนที่, การเสนอ, การ นำมาให้; ชื่อศาลสูงถัดจากศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษา รรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น เรียกว่า ศาลอุทธรณ์. ก. (กฎ) ยื่นฟ้องหรือยื่นคําร้องต่อศาลสูงคัดค้านคํา พิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นต้น; ยื่นคําร้องคัดค้านคําสั่งหรือคํา วินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่; ร้องเรียน, ร้องทุกข์, เช่น ร้องอุทธรณ์. (ป., ส. อุทฺธรณ).
  11. อุทธัจ : [อุดทัด] น. ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุธัจ ก็ว่า. (ป. อุทฺธจฺจ ว่า ความฟุ้งซ่าน; ส. เอาทฺธตฺย).
  12. อุทาน : [าน] น. ่อนํ้า, สระน้ำ. (ป., ส. อุท + ปาน).
  13. อุทพินทุ์ : [พิน] น. หยาดนํ้า. (ป., ส. อุท + พินฺทุ).
  14. อุทยาน : [อุดทะยาน] น. สวน. (ส.; ป. อุยฺยาน).
  15. อุทร : [ทอน] น. ท้อง. (ป., ส.).
  16. อุทัช : ว. เกิดในนํ้า. (ป., ส. อุท + ช).
  17. อุทัย : น. การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข, การตั้งขึ้น เช่น อรุโณทัย = การตั้งขึ้นแห่งอรุณ. ก. เริ่มส่องแสง ในคำว่า อาทิตย์อุทัย. (ป., ส.).
  18. อุทาน ๑ : น. เสียงหรือคําที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น; ในไวยากรณ์เรียกคําหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้นว่า คําอุทาน. (ป., ส.).
  19. อุทาน ๒ : น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
  20. อุทาหรณ์ : [หอน] น. ตัวอย่างที่ยกขึ้นมาอ้างให้เห็น, สิ่งหรือเรื่องที่ยกขึ้นมา เทียเคียงเป็นตัวอย่าง. (ป., ส.).
  21. อุทิศ : ก. ให้, ยกให้, เช่น อุทิศส่วนุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี; ทําเพื่อ, สละให้โดยเจาะจง. (ส. อุทฺทิศฺย; ป. อุทฺทิสฺส ว่า เจาะจง).
  22. อุทุมพร : [พอน] น. ชื่อมะเดื่อชนิดหนึ่ง. (ดู มะเดื่อ). (ป., ส.).
  23. อุเทศ : น. การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้นชี้แจง. ว. ที่ยกขึ้นแสดง, ที่ยกขึ้น ชี้แจง; ที่อ้างอิง เช่น หนังสืออุเทศ. (ส. อุทฺเทศ; ป. อุทฺเทส).
  24. อุธัจ : น. ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุทธัจ ก็ว่า. (ป. อุทฺธจฺจ ว่า ความฟุ้งซ่าน; ส. เอาทฺธตฺย).
  25. อุ : [น] น. ัวสาย. (ป. อุปฺปล; ส. อุตฺปล).
  26. อุัติ, อุัติ : [อุัด, อุัดติ] น. การเกิดขึ้น, กําเนิด, การังเกิด; รากเหง้า, เหตุ. ก. เกิด, เกิดขึ้น. (ป. อุปฺปตฺติ; ส. อุตฺปตฺติ).
  27. อุาทว์ : ว. อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล. (ป. อุปทฺทว; ส. อุปทฺรว).
  28. อุาท, อุปาท : [อุาด, อุาด] น. การังเกิด, กําเนิด, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น พุทธุาท (พุทธ + อุาท), พุทธุปาท (พุทธ + อุปาท). (ป. อุปฺปาท; ส. อุตฺปาท).
  29. อุาย : น. วิธีการอันแยคาย; เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม. (ป., ส. อุปาย).
  30. อุาสก : น. คฤหัสถ์ผู้ชายที่นัถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสก).
  31. อุาสิกา : น. คฤหัสถ์ผู้หญิงที่นัถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสิกา).
  32. อุเกขา : น. ความเที่ยงธรรม, ความวางตัวเป็นกลาง, ความวางใจเฉยอยู่, เป็นข้อ ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเกขา. (ป. อุเปกฺขา).
  33. อุโสถ ๑ : [อุโสด] น. เรียกสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทําสังฆกรรมเช่น สวดพระปาติโมกข์ อุปสมท ว่า โรงอุโสถ หรือ อุโสถ, เรียก ย่อว่า โสถ์; (ปาก) เรียกวันพระว่า วันอุโสถ; เรียกการแสดง พระปาติโมกข์ของพระสงฆ์ทุก ๆ กึ่งเดือน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ค่ำ หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด ว่า การทํา อุโสถ; เรียกการรักษาศีล ๘ ของคฤหัสถ์ว่า การรักษาอุโสถ. (ป. อุโปสถ; ส. อุโปษธ, อุปวสถ).
  34. อุโสถกรรม : [อุโสดถะกำ] น. การทําอุโสถ. (ป. อุโปสถกมฺม).
  35. อุปกรณ์ : [อุปะกอน, อุปะกอน] น. เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องช่วย, เครื่อง ประกอ; (กฎ) สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดย เจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธาน เป็นของใช้ประจําอยู่ กัทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดดูแล ใช้สอยหรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน และเจ้าของทรัพย์ได้นํามา สู่ทรัพย์ที่เป็นประธานโดยการนํามาติดต่อหรือปรัเข้าไว้ หรือทำ โดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอกัทรัพย์ที่เป็น ประธานนั้น. (ป., ส.).
  36. อุปกรม : [อุปะกฺรม] น. การเข้าใกล้, การตั้งต้น, การพยายาม. (ส.; ป. อุปกฺกม).
  37. อุปการ ๑, อุปการะ : [อุปะการะ, อุปะการะ] น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความ อุดหนุน, คู่กั ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอแทนคุณ. ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน. (ป., ส.).
  38. อุปกิณณะ : [ปะกินนะ] ว. ปกคลุมไว้, ปิดังอยู่. (ป.).
  39. อุปกิเลส : [อุปะกิเหฺลด] น. เครื่องทําใจให้เศร้าหมอง มี ๑๖ อย่าง มี อภิชฌาวิสมโลภ เป็นต้น. (ป. อุปกฺกิเลส).
  40. อุปจาร : [อุปะจาน] น. การเข้าใกล้, ที่ใกล้, ริเวณรอ ๆ เช่น อุปจารวัด. (ป., ส.).
  41. อุปถัมภ์ : [อุปะถํา, อุปะถํา] น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนัสนุน, การเลี้ยงดู. ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนัสนุน, เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภ; ส. อุปสฺตมฺภ).
  42. อุปถัมภก : [อุปะถําพก, อุปะถําพก] น. ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนัสนุน, ผู้เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภก; ส. อุปสฺตมฺภก).
  43. อุปเทศ : [อุปะเทด, อุปะเทด] น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนํา; คําสั่งสอน, คําชี้แจง, คําแนะนํา. ก. สอน, ชี้แจง, แนะนํา. (ส., ป. อุปเทส).
  44. อุปเท่ห์ : [อุปะเท่, อุปะเท่] น. อุายดําเนินการ, วิธีดําเนินการ. (ส. อุปเทศ; ป. อุปเทส).
  45. อุปธิ : [อุปะทิ] น. กิเลส, ความพัวพัน, เหตุแห่งการเวียนเกิด; ขันธ์ ๕, ร่างกาย. (ป., ส.).
  46. อุปนิกขิต, อุปนิกษิต : [อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด] ก. เก็ไว้, รักษาไว้. น. คนสอดแนม, จารชน. (ป. อุปนิกฺขิตฺต; ส. อุปนิกฺษิปฺต).
  47. อุปนิสัย : [อุปะนิไส, อุปะนิไส] น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาใน สันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้อง ทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจน เกือเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. (ป. อุปนิสฺสย).
  48. อุป : [อุน] (แ) น. อุล, ัวสาย, ดอกัว, มักใช้เป็นส่วนท้าย ของสมาส เช่น นีลุปล ว่า ัวขา. (ป. อุปฺปล).
  49. อุปัติ : [อุปะัด, อุปะัด] น. การเข้าถึง เช่น คติอุปัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. (ป. อุปปตฺติ).
  50. อุปปาติกะ : [อุปะปาติกะ, อุปะปาติกะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. (ป. อุปปาติก, โอปปาติก).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | [5101-5150] | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.0899 sec)