Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 601-650
  1. จตุรถ- : [จะตุระถะ-] ว. ที่ ๔ เช่น จตุรถาภรณ์. (ส.; ป. จตฺตถ).
  2. จตุราริยสัจ : [จะตุราริยะสัด] น. อริยสัจ ๔ ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. (ป. จตุร + อริยสจฺจ).
  3. จตุสดมภ์ : น. วิธีจัดระเียราชการริหารส่วนกลางในสมัยโราณโดย ตั้งกรมหรือกระทรวงใหญ่ขึ้น ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนา มีเสนาดีเจ้ากระทรวงว่าการในแต่ละกรมนั้น รวมเรียกว่า จตุสดมภ์ ซึ่งแปลว่า หลัก ๔. (ป. จตุ = สี่ + ส. สฺตมฺภ = หลัก หมายความว่า หลัก ๔).
  4. จร ๑, จร- : [จอน, จอระ-, จะระ-] ว. ไม่ใช่ประจํา เช่น คนจร รถจร, แทรกแปลกเข้ามา เช่น โรคจร ลมจร. ก. ไป, เที่ยวไป; ประพฤติ. (ป., ส.), ใช้เป็นทท้าย สมาสก็มี เช่น ขจร = เที่ยวไปในอากาศ, วนจร = เที่ยวไปในป่า, ที่ใช้คว กัคําไทยก็มี.
  5. จรก : [จะรก] น. ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินไป. (ป., ส.).
  6. จรณะ : [จะระ-] น. ความประพฤติ, ในพระพุทธศาสนาหมายความว่า ข้อปฏิัติเป็นเครื่องรรลุวิชชา. (ป.).
  7. จรดล : [จอระดน] (กลอน) ก. เที่ยวไปถึง. (ป. จร + ตล = พื้น; ข. ฎล = ถึง).
  8. จรรมการ : น. ช่างหนัง. (ส.; ป. จมฺมการ).
  9. จรรมขัณฑ์ : น. ท่อนหนัง, แผ่นหนัง, เช่น ทรงครองอชินจรรมขัณฑ์เป็น เครื่องคลุม. (ม. ร่ายยาว จุลพน). (ส.; ป. จมฺม + ขณฺฑ).
  10. จรรม, จรรม- : [จํา, จํามะ-] (แ) น. หนังสัตว์. (ส. จรฺมนฺ; ป. จมฺม).
  11. จรรยา : [จัน-] น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่ในคณะ เช่น จรรยาแพทย์, นิยมใช้ในทางดี เช่น มีจรรยา หมายความว่า มีความ ประพฤติที่ดี. (ส. จรฺยา; ป. จริยา).
  12. จริต : [จะหฺริด] น. ความประพฤติ, กิริยาหรืออาการ, เช่น พุทธจริต เสียจริต วิกลจริต, างทีใช้ในทางไม่ดี เช่น ดัดจริต มีจริต, จริตจะก้าน ก็ว่า. (ป.).
  13. จริม- : [จะริมะ-] ว. สุดท้าย เช่น จริมจิต ว่า จิตดวงสุดท้าย. (ป.).
  14. จริย- : [จะริยะ-] น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น จริยศึกษา. (ป.).
  15. จล : [จน] ก. ไหว, สั่น, เช่น จลวิจล. (ป.).
  16. จลนี ๑ : [จะ-] (กลอน) น. เนื้อสมัน. (ป.).
  17. จลนี ๒ : [จะ-] (กลอน) น. ชะนี เช่น จลนีหวนโหนปลายทูม. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์). (ป.). [จะ-] (แ) น. ธูป, ของหอม; แสงสว่าง, ฟ้าแล, เช่น จลาจเลนทร์. (ม. คําหลวง แปลจากคํา คนฺธมาทโน; ส. จล + อจล + อินฺทฺร). [จะลาจน] น. ความปั่นป่วนวุ่นวายไม่มีระเีย. (ป., ส. จล + อจล).
  18. จักขุ, จักขุ- : น. ตา. (ป.; ส. จกฺษุ).
  19. จักขุนทรีย์ : น. ตาซึ่งทำหน้าที่ดูรูป. (ป. จกฺขุ + อินฺทฺริย).
  20. จักร, จักร- : [จัก, จักกฺระ-] น. อาวุธในนิยาย รูปเป็นวงกลมและมีแฉก ๆ โดยรอ เช่น พระนารายณ์ทรงจักร, สิ่งที่มีลักษณะเป็นวงกลมอย่างล้อรถ เช่น จักรที่ใช้ ขว้างในการกีฬา, สิ่งที่มีรูปเป็นวงกลมมีฟันเฟืองหมุนด้วยพลังงานต่าง ๆ เช่น จักรนาฬิกา, เรียกเครื่องกลางชนิด เช่น เครื่องจักร รถจักร, เรียก เครื่องเย็ผ้าที่ใช้เดินด้วยพลังงานหรือใช้เท้าถีหรือใช้มือหมุนว่า จักร หรือ จักรเย็ผ้า; รรจรอแห่งปีหรือแห่งฤดู เช่น พฤหัสดีจักร.(ส., ป. จกฺก).
  21. จักรปาณิ, จักรปาณี : น. ผู้มีจักรในมือ คือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์. (ส.; ป. จกฺกปาณิ, จกฺกปาณี).
  22. จักรพรรดิ : น. พระราชาธิราช, ประมุขของจักรวรรดิ, โราณเขียนว่า จักรพัตราธิราช ก็มี. (ส. จกฺรวรฺตินฺ; ป. จกฺกวตฺติ).
  23. จักรวาล : [-วาน] น. ปริมณฑล; ประชุม, หมู่; เทือกเขาในนิยาย เป็นกําแพง ล้อมรอโลกและเป็นเขตกั้นแสงสว่างกัความมืด, ริเวณโดยรอของ โลก, ทั่วโลก. (ส.; ป. จกฺกวาล).
  24. จักริน, จักรี : [จักกฺริน, จักกฺรี] น. ผู้มีจักร หมายถึง พระนารายณ์, ต่อมาหมายถึง พระราชาตามคติความเชื่อของไทยที่ถือว่าเป็นพระนารายณ์อวตาร. (ส. จกฺรี, จกฺรินฺ; ป. จกฺกี).
  25. จักษุ : น. ดวงตา. (ส.; ป. จกฺขุ).
  26. จังโกฏก์ : (แ) น. ผอ. (ป.).
  27. จัณฑ-, จัณฑ์ : [จันทะ-, จัน] ว. ดุร้าย, หยาช้า, เกรี้ยวกราด, ฉุน, ฉุนเฉียว; ราชาศัพท์. ใช้เรียกสุราหรือเมรัยว่า นํ้าจัณฑ์. (ป., ส.)
  28. จัตตาฬีสะ : (แ) ว. สี่สิ. (ป.).
  29. จัตวา : [จัดตะวา] ว. สี่, ชั้นที่ ๔ (เดิมใช้เรียกข้าราชการที่มีลำดัชั้นต่ำกว่าชั้นตรีว่า ชั้นจัตวา) เช่น ข้าราชการชั้นจัตวา; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้ + ว่า ไม้จัตวา, ตีนกา ก็เรียก. (ส.; ป. จตุ).
  30. จัตุ : [จัดตุ] ว. สี่. (ป. จตุ; ส. จตุรฺ).
  31. จัตุร- : [จัดตุระ-] ว. สี่. (ส. จตุร; ป. จตุ).
  32. จัตุรงคพล : [จัดตุรงคะ-] น. จตุรงคพล, กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่ารา. (ป., ส. จตุรงฺค + เสนา).
  33. จัตุรงคินีเสนา : [จัดตุรง-] น. จตุรงคินีเสนา, กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่ารา. (ป., ส. จตุรงฺคินี + เสนา).
  34. จัตุโลกาล : [จัดตุโลกกะาน] น. ท้าวจาตุมหาราช, หัวหน้าเทวดาในสวรรค์ชั้น จาตุมหาราช มีหน้าที่รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ท้าวจัตุโลกาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูตหรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลกด้านทิศูรพา หรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหกจอมเทวดาหรือจอมกุมภัณฑ์ รักษา โลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้าน ทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศ อุดรหรือทิศเหนือ, จตุโลกาล ก็ว่า. (ป.).
  35. จัตุสดมภ์ : [จัดตุสะดม] น. จตุสดมภ์, วิธีจัดระเียราชการริหารส่วนกลางในสมัย โราณ โดยตั้งกรมหรือกระทรวงใหญ่ขึ้น ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนา มีเสนาดีเจ้ากระทรวงว่าการในแต่ละกรมนั้น รวมเรียกว่า จัตุสดมภ์ ซึ่งแปลว่า หลัก ๔. (ป. จตุ = สี่ + ส. สฺตมฺภ = หลัก หมายความว่า หลัก ๔).
  36. จันท์ : (แ) น. จันทร์, ดวงเดือน. (ป.; ส. จนฺทฺร).
  37. จัมก, จัมปกะ : [จําก] (แ) น. ต้นจําปา เช่น จัมกตระการกรร- ณิกาแก้วก็อยู่แกม. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
  38. จัมมะ : (แ) น. จรรม, หนังสัตว์. (ป.; ส. จรฺม).
  39. จาคะ : น. การสละ, การให้ปัน. (ป.; ส. ตฺยาค).
  40. จาคี : (แ) น. ผู้มีการเสียสละ, ผู้นิยมทําทาน. (ป.; ส. ตฺยาคินฺ).
  41. จาตุกรณีย์ : น. ราชกิจ ๔ อย่าง คือ ๑. ตัดสินความเมือง ๒. ํารุงราษฎร ๓. ํารุงผลประโยชน์้านเมือง ๔. ป้องกันพระนคร, างทีในทกลอนใช้ว่า จาตุกรณย์, จาตุรราชการ ก็ว่า. (ป., ส. จตุ + กรณีย).
  42. จาตุทสี : [-ทะสี] น. ดิถีที่ ๑๔ (คือ วัน ๑๔ คํ่า). (ป. จาตุทฺทสี; ส. จตุรฺทศี).
  43. จาตุรงค-, จาตุรงค์ : [-ตุรงคะ-] ว. มีองค์ ๔, มีส่วน ๔. (ป. จาตุร + องฺค).
  44. จาตุรงคสันนิาต : น. การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ คือ ๑. วันนั้น ดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อมฆา) ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูป ประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมวันนั้นล้วน ได้รัเอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, นัเป็นวันสําคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา, คําสามัญว่า มาฆูชา. (ป., ส.).
  45. จาตุรนต์, จาตุรันต์ : (แ) น. เจ้าแห่งโลกหรือแห่งทิศทั้ง ๔. (ป., ส.).
  46. จาป ๑ : [จา, จาปะ] (แ) น. ธนู, ศร, หน้าไม้, เช่น ชักกุทัณฑกำซา ด้วยลูกจาปแล่นลิ่ว. (อนิรุทธ์). (ป., ส.).
  47. จาป ๒ : [จา] (แ) น. ลูกสัตว์ เช่น แม่นกจากพรากพราก แลนา จากจาปน้อยแนอก แลนา. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. จาป; ส. ศาว).
  48. จามีกร : [-กอน] น. ทอง, เครื่องทอง. (ป., ส.).
  49. จาร- ๒ : [จาระ-] น. ผู้สอดแนม, ใช้ประกอหน้าคําอื่นในคำว่า จารกรรม จารชน จารุรุษ จารสตรี. (ป., ส.).
  50. จารี : น. ผู้ประพฤติ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ธรรมจารี สัมมาจารี. (ป.).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1400 sec)