Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 751-800
  1. ชโลทร : [ชะโลทอน] น. แม่นํ้า, ทะเล, ห้วงนํ้า, ท้องนํ้า. (ป., ส. ชล + อุทร).
  2. ชวน ๒ : [ชะวะนะ] (แ) น. ความเร็ว, ความไว, ความเร็ว ของปัญญาหรือความคิด, แผลงเป็น เชาวน์ ก็มี. (ป., ส.).
  3. ชวร, ชวระ : [ชวน, ชะวะระ] (แ) น. ไข้, ความไข้. ก. เป็นไข้, ป่วย. (ส.; ป. ชร).
  4. ชวลิต : [ชะวะลิด] (แ) ว. รุ่งเรือง, รุ่งโรจน์, สว่าง. (ส. ชฺวลิต; ป. ชลิต).
  5. ชวาล : [ชะ] (แ) น. ความรุ่งเรือง, เปลวไฟ, โคมไฟ; ความสว่าง. ว. ซึ่งลุกโพลง, สว่างโพลง. (ส. ชฺวาล; ป. ชาลา).
  6. ชัค : [ชักคะ] (แ) น. แผ่นดิน เช่น ชัคสัตว์เสพสำราญ รมยทั่ว กันนา. (ตะเลงพ่าย). (ป. ชค).
  7. ชังฆ : [ชังคะ] (แ) น. ชงฆ์, แข้ง. (ป., ส.).
  8. ชัฏ : [ชัด] (แ) น. ป่าทึ, ป่ารก, เซิง, เช่น ตัวก่านกาจ ชาติชัฏขน. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์). (ป., ส. ชฏา).
  9. ชันตาฆระ : [ชันตาคะระ] (แ) น. เรือนไฟ, ห้องสําหรัรมไฟ เพื่อให้เหงื่อออก. (ป.).
  10. ชันตุ : (แ) น. สัตว์เกิด, สัตว์, คน, ต้นไม้. (ป., ส.).
  11. ชันนุ, ชันนุกะ : (แ) น. เข่า. (ป., ส. ชานุ). (ดู ชานุ, ชานุกะ).
  12. ชัปนะ : [ชัปะนะ] (แ) น. การพูดพึมพำ, การสวดมนต์พึมพำ. (ป., ส. ชปน).
  13. ชัพ : [ชั] (แ) ว. เร็ว. (ป., ส. ชว).
  14. ชัมพูนท : [ชําพูนด] น. ทองคําเนื้อริสุทธิ์ (ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่า เกิดใต้ต้นหว้า), ชมพูนท ชมพูนุท หรือ ชามพูนท ก็ว่า. (ป.; ส. ชามฺพูนท).
  15. ชัย, ชัย : [ไช, ไชยะ] น. การชนะ, ความชนะ. (ป., ส.).
  16. ชัยาน : [ไชยะ] น. เครื่องดื่มในการมีชัย. (ป.).
  17. ชัยภูมิ : [ไชยะพูม] น. ทําเลที่เหมาะ. (ป., ส.).
  18. ชัลลุกา : [ชันลุกา] (แ) น. ปลิง. (ป. ชลุกา, ชลูกา; ส. ชลูกา).
  19. ชาคระ : [ชาคะระ] (แ) น. ความเพียร, ความตื่นอยู่. (ป., ส.).
  20. ชาคริยานุโยค : [ชาคะริยานุโยก] น. การประกอความเพียรเพื่อจะชําระใจ ให้หมดจดไม่เห็นแก่นอนมากนัก. (ป.; ส. ชาครฺยา + อนุโยค).
  21. ชาดก : [ชาดก] น. เรื่องพระพุทธเจ้าที่มีมาในชาติก่อน ๆ ตามที่ กล่าวไว้ในคัมภีร์ชื่อนี้, ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป. ชาตก).
  22. ชาต, ชาตะ : [ชาตะ] ก. เกิด. (ป.).
  23. ชาตรูป : น. ทอง. (ป., ส.).
  24. ชาตสระ : [สะ] น. สระธรรมชาติ. (ป.).
  25. ชาติ ๑, ชาติ ๑ : [ชาด, ชาติ, ชาดติ] น. การเกิด เช่น ชาตินี้ ชาติหน้า; กําเนิด เช่น มีชาติมีสกุล; เหล่ากอ, เทือกเถา, เผ่าพันธุ์, เช่น ชาติเสือ ชาติขี้ข้า; ชนิด, จําพวก, ชั้น, หมู่; คำเพิ่มข้างหลังของคำเดิม เมื่อเพิ่มแล้วความหมายคงเดิมหรือหมายถึงพวกหรือหมู่ เช่น คชาชาติ มนุษยชาติ. (ป., ส.).
  26. ชาติรส : [ชาติรด, ชาดติรด] น. รสโดยกําเนิด เช่น รสหวานแห่งนํ้าตาล. (ป.).
  27. ชานุ, ชานุกะ : น. เข่า, ชันนุ หรือ ชันนุกะ ก็ใช้. (ป., ส.).
  28. ชานุมณฑล : น. สะ้าเข่า. (ป., ส.).
  29. ชามาดร, ชามาดา, ชามาตุ : [–ดอน] น. ลูกเขย. (ป. ชามาตุ; ส. ชามาตฺฤ).
  30. ชายา ๒ : (แ) น. เมีย. (ป., ส.), างแห่งใช้หมายความว่า ผู้หญิง, นางผู้มีเสียงพูดเป็น ฉายา ฉัยยา ไฉยา หรือ สายา ก็มี.
  31. ชาระ : (แ) น. ชายชู้, ชายที่รัก. (ป., ส.).
  32. ชารี : (แ) น. หญิงชู้, หญิงที่รัก. (ป., ส.).
  33. ชาล, ชาล : [ชาน, ชาละ] (แ) น. ตาข่าย, ร่างแห; ใยแมงมุม. (ป., ส.).
  34. ชาลินี : (แ) น. สิ่งที่มีข่าย; ตัณหา. (ป., ส.).
  35. ชิณณะ : ว. แก่, เก่า, ครํ่าคร่า. (ป.).
  36. ชิเดนทรีย์ : [ชิเดนซี] (แ) น. ผู้มีอินทรีย์อันชนะแล้ว, ผู้สํารวม อินทรีย์. (ป., ส. ชิต + อินฺทฺริย).
  37. ชิต, ชิต : [ชิด, ชิตะ] ก. ชนะแล้ว. (ป., ส.).
  38. ชิตินทรีย์ : [ชิตินซี] (แ) น. ผู้มีอินทรีย์อันชนะแล้ว, ผู้สํารวมอินทรีย์. (ป., ส. ชิตนฺทฺริย).
  39. ชิน ๔ : [ชินะ, ชินนะ] น. ผู้ชนะ, พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอกั คําอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
  40. ชินุตร : [ชินนะุด] น. พระสงฆ์. (ส. ชินปุตะ; ป. ชินปุตฺต).
  41. ชิโนรส : น. พระสงฆ์. (ป.).
  42. ชิยา : น. สายธนู. (ป.; ส. ชฺยา).
  43. ชิรณ, ชิรณะ : [ชิระนะ] ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชํารุด. (ป. ชีรณ; ส. ชีรฺณ).
  44. ชิรณัคคิ : [ชิระนักคิ] น. ไฟธาตุที่ทําอาหารให้ย่อย, ชีรณัคคิ ก็ว่า. (ส. ชีรณ + ป. อคฺคิ).
  45. ชิระ : ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชํารุด. (ป.).
  46. ชิวหา : น. ลิ้น. (ป.; ส. ชิหฺวา).
  47. ชิวหินทรีย์ : น. ลิ้นซึ่งเป็นใหญ่ในการลิ้มรส. (ป. ชิวฺหา + อินฺทฺริย).
  48. ชีพ, ชีพ : [ชี, ชีพะ] น. ชีวิต เช่น เสียชีพอย่าเสียสัตย์; ความ เป็นอยู่, ความดำรงชีวิตอยู่ เช่น ค่าครองชีพ. (ป., ส. ชีว).
  49. ชีพิต : น. ความเป็นอยู่. (ป., ส. ชีวิต).
  50. ชีพิตักษัย : (ราชา) น. การสิ้นชีวิต. ก. ตาย, ใช้แก่หม่อมเจ้า ว่า ถึงชีพิตักษัย. (ส. ชีวิตกฺษย; ป. ชีวิตกฺขย).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.1077 sec)