Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 801-850
  1. ชีรณ, ชีรณะ : [ชีระนะ] ว. เก่า, แก่, ชํารุด, ยุ่ย, ย่อย, โราณ เช่น ชีรณกถา ว่า นิทานโราณ, ชีรณฎีกา ว่า ฎีกาโราณ. (ป., ส.).
  2. ชีรณัคคิ [ชีระนักคิ] : น. ไฟธาตุที่ทําอาหารให้ย่อย, ชิรณัคคิ ก็ว่า. (ส. ชีรณ + ป. อคฺคิ).
  3. ชีระ ๑ : (แ) ว. แก่, ครํ่าคร่า, ชํารุด. (ป.).
  4. ชีว, ชีวะ : [ชีวะ] น. ชีพ, ความเป็นอยู่; พระพฤหัสดี เช่น ชีววาร. (ป., ส.).
  5. ชีวันตราย : น. อันตรายต่อชีวิต, อันตรายถึงตาย. (ป., ส.).
  6. ชีวิต : น. ความเป็นอยู่, ตรงข้ามกั ความตาย. (ป., ส.).
  7. ชีวิตินทรีย์ : น. ชีวิต. (ป., ส.).
  8. ชุณห : [ชุนหะ] (แ) ว. ขาว, สว่าง. (ป.).
  9. ชุณหปักษ์ : น. ข้างขึ้น. (ป. ชุณฺหปกฺข; ส. โชฺยตฺสฺนปกฺษ).
  10. ชุติ : (แ) น. ความโพลง, ความรุ่งเรือง, ความสว่างไสว; ดวงดาว. (ป.; ส. ชฺยุติ).
  11. ชุติมา : น. ผู้มีความรุ่งเรือง. (ป.; ส. ชฺยุติมตฺ).
  12. ชุษณปักษ์ : น. ข้างขึ้น. (ส. โชฺยตฺสฺนปกฺษ; ป. ชุณฺหปกฺข).
  13. เชษฐ- ๑ : [เชดถะ] น. พี่ผู้เป็นใหญ่ เช่น เชษฐุรุษ. (ป. เชฏฺฐ; ส. เชฺยษฺฐ). ว. ''เจริญที่สุด''. (ส.; ป. เชฏฺฐ), (ราชา) ถ้า ใช้ว่า พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว, ถ้าใช้ว่า พระเชษฐภาดา undefined หมายถึง พี่ชาย, ถ้าใช้ว่า พระเชษฐา หมายถึง พี่ชาย.
  14. เชษฐ- ๒ : [เชดถะ] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์เชษฐา เรียกว่า เชษฐมาสคือ เดือน ๗ ตามจันทรคติ ตกในราวเดือน มิถุนายน, ถ้าพระจันทร์เพ็ญเกี่ยวมาทางดาวฤกษ์มูลา เรียกว่า เชษฐมูลมาส. (ป. เชฏฺฐ; ส. เชฺยษฺฐ, ไชฺยษฐ).
  15. เชษฐ- ๓, เชษฐะ : [เชดถะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๘ มี ๑๔ ดวง เห็นเป็นรูปงาช้าง หรือคอนาค เช่น อัษฐรัศนักษัตรสมุรณยล ัญญัติเชษฐดารา. (สรรพสิทธิ์), ดาวเชษฐา ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ ก็เรียก. (ป. เชฏฺ?า; ส. เชฺยษฺ?า).
  16. เชาว์ : ว. เร็ว. (แผลงมาจาก ป., ส. ชว).
  17. เชาวน์ : [เชา] น. ปัญญาหรือความคิดฉัไว, ปฏิภาณไหวพริ. (แผลงมาจาก ป., ส. ชวน).
  18. เชิงชายา ๒ : [เชดถา] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๘ มี ๑๔ ดวง เห็นเป็นรูปงาช้าง หรือคอนาค, ดาวเชิงชายะ ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ ก็เรียก. (ป. เชฏฺ?า; ส. เชฺยษฺ?า).
  19. โชดก : น. ผู้รุ่งเรือง, ผู้สว่างไสว, ผู้ส่อง. (ป. โชตก).
  20. โชดึก : น. ผู้มีความรุ่งเรือง, ผู้มีความสว่างไสว. (ป. โชติก).
  21. โชต : ว. สว่าง, รุ่งเรือง, โพลง. (ป.).
  22. โชตกะ : [โชตะกะ] น. ผู้รุ่งเรือง, ผู้สว่างไสว, ผู้ส่อง. (ป.).
  23. โชติก : [โชติกะ] น. ผู้มีความรุ่งเรือง, ผู้มีความสว่างไสว. (ป.).
  24. โชติ, โชติ : [โชด, โชติ] น. ความรุ่งเรือง, ความโพลง, ความสว่าง. (ป.; ส. โชฺยติสฺ).
  25. โชติรส : [โชติ] น. แก้ววิเศษชนิดหนึ่งมีรัศมีรุ่งเรือง. (ป.).
  26. โชยติส : [ชะโยติด] น. ดาราศาสตร์. (ส.; ป. โชติ).
  27. ไชย, ไชย : [ไช, ไชยะ] ว. ดีกว่า, เจริญกว่า. (ป., ส. เชยฺย).
  28. ฌาน : [ชาน] น. ภาวะที่จิตสงแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์, การเพ่ง อารมณ์จนจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ, เรียกลักษณะการทําจิตให้สงตาม หลักทางศาสนาว่า เข้าฌาน เช่น พระเข้าฌาน ฤษีเข้าฌาน, โดย ปริยายหมายถึงนั่งหลัหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รัรู้อะไร เรียกว่า เข้าฌาน, ฌานนั้นจัดเป็น ๔ ชั้น เรียกชื่อตามลําดัที่ประณีตขึ้นไป กว่ากัน คือ ปฐมฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือ ยังมีตรึก ซึ่งเรียก ว่า วิตก มีตรอง ซึ่งเรียกว่า วิจาร เหมือนอารมณ์แห่งจิตของคนสามัญ มีปีติ คือความอิ่มใจ มีสุข คือความสายใจอันเกิดแต่วิเวกคือความ เงีย และประกอด้วยจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งลงไปซึ่งเรียกว่า เอกัคตา, ทุติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๒ มีองค์ ๓ คือ ละวิตกวิจารเสียได้ คงอยู่แต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิกัเอกัคตา, ตติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๓ มีองค์ ๒ คือ ละปีติเสียได้ คงอยู่แต่สุขกัเอกัคตา, จตุตถฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๔ มีองค์ ๒ เหมือนกัน ละสุขเสียได้ กลายเป็นอุเกขาคือเฉย ๆ กัเอกัคตา, ฌานทั้ง ๔ นี้จัดเป็นรูปฌาน เป็นรูปสมาัติ มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ สงเคราะห์เข้าในรูปาวจรภูมิ. (ป.; ส. ธฺยาน).
  29. ฌาปน- : [ชาปะนะ-] น. การเผาศพ, การปลงศพ. (ป.).
  30. ญัตติ : น. คําประกาศให้สงฆ์ทราเพื่อทํากิจของสงฆ์ร่วมกัน เช่น ญัตติทุติยกรรมวาจา ญัตติจตุตถกรรมวาจา, คําเผดียงสงฆ์ ก็ว่า ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอด้วยหรือไม่; หัวข้อโต้วาที เช่น โต้วาทีในญัตติว่า ขุนช้างดีกว่าขุนแผน. (ป.).
  31. ญาณ, ญาณ- : [ยาน, ยานะ-, ยานนะ-] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกําหนดรู้ที่เกิดจาก อํานาจสมาธิ, ความสามารถหยั่งรู้เป็นพิเศษ. (ป.; ส. ชฺ?าน).
  32. ญาณทัสนะ : [ยานะทัดสะนะ, ยานนะทัดสะนะ] (แ) น. ความรู้ ความเห็น. (ป.).
  33. ญาณศาสตร์ : [ยานะสาด, ยานนะสาด] น. ตําราพยากรณ์. (ป. ?าณ + ส. ศาสฺตฺร).
  34. ญาติ, ญาติ- : [ยาด, ยาติ-, ยาดติ-] น. คนในวงศ์วานที่ยังนัรู้กันได้ทางเชื้อสาย ฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่. (ป.).
  35. ญาติเภท : [ยาติเพด] (แ) น. การแตกระหว่างญาติ. (ป.).
  36. เญยธรรม, ไญยธรรม : [เยยยะทํา, ไยยะทํา] (แ) น. ธรรมที่ควรรู้. (ป. เ?ยฺย + ส. ธรฺม).
  37. ฎีกา : น. คําอธิายขยายความ เช่น ฎีกาพาหุง; ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรือ อธิายคัมภีร์อรรถกถา; หนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์; ใแจ้ง การขอเิกเงินจากคลัง; ใอกุญเรี่ยไร; (กฎ) คําร้องทุกข์ที่ ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์; ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุด ของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่าศาลฎีกา; การคัดค้านคําพิพากษาหรือ คําสั่งศาลอุทธรณ์ที่คู่ความยื่นต่อศาลชั้นต้น เพื่อเสนอให้ศาลฎีกา พิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด; (โ) ใเรียกเก็เงิน. (ปาก) ก.ยื่นคําร้องขอหรือคําคัดค้านต่อศาลฎีกา เช่น คดีนี้จะฎีกาหรือไม่. (ป. ฏีกา).
  38. ฐาน ๑ : [ถาน] น. ที่ตั้ง เช่น ฐานทัพ ฝีตั้งฐาน, ที่รองรั เช่น ฐานพระพุทธรูป. (ป.).
  39. ฐาน ๒, ฐาน, ฐานะ : [ถาน, ถานะ] น. ตําแหน่งหน้าที่; หลักฐาน, ลําดัความเป็นอยู่ใน สังคม เช่น ทุกคนยอมรัรู้ฐานะในสังคมของเขา. (ป.).
  40. ฐานานุรูป : ว. สมควรแก่ฐานะ. (ป.).
  41. ฐานียะ : (แ) ว. ควรแก่ตําแหน่ง, ตั้งอยู่ในฐานะ, มักประกอท้ายศัพท์ เช่น ครุฐานียะ ว่า ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครู. (ป.).
  42. ฐาปน, ฐาปนา : [ถาปะนะ, ถาปะนา] น. การก่อสร้าง, การแต่งตั้ง, การซ่อมแซม, การตั้งขึ้น. (ป. ?ปน).
  43. ฐายี : (แ) ว. ตั้งอยู่, ดํารงอยู่, มักประกอท้ายศัพท์ เช่น กัปปัฏฐายี ว่า ตั้งอยู่กัปหนึ่ง. (ป.).
  44. ฐิตะ : [ถิตะ] (แ) ก. ยืนอยู่, ตั้งอยู่แล้ว. (ป.).
  45. ฐิติ : [ถิติ] น. การตั้งอยู่, การยืนอยู่, การดํารงอยู่; การเป็นไป, ความมีชีวิต อยู่; การหยุดอยู่; ความมั่นคง, ความอดทน; ตำแหน่ง, ที่อยู่; ข้อังคั, ข้อัญญัติ; ความแน่นอน. (ป.).
  46. ฑังส– : [ดังสะ–] (แ) น. เหลือ. (ป. ฑํส).
  47. ฑาก– : [ดากะ–] (แ) น. ผักดอง, เมี่ยง. (ป.).
  48. ฑาหก : [ทาหก] น. ผู้เผา; ไฟ. (ป.).
  49. ฑาหะ : [ทาหะ] (แ) น. ความร้อน, ไฟ. (ป.).
  50. ดนยะ, ดนัย : [ดะนะยะ, ดะไน] (แ) น. ลูกชาย. (ป., ส. ตนย).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.0927 sec)