Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 5272 found, display 901-950
  1. เดโชพล : น. กําลังแห่งอํานาจ. (ป., ส.).
  2. เดียร, เดียระ : [เดียน, เดียระ] (แ) น. ฝั่ง. (ป., ส. ตีร).
  3. เดียรถ์ : [เดียน] (แ) น. ท่านํ้า. (ส. ตีรฺถ; ป. ติตฺถ).
  4. เดียรถีย์ : [-ระถี] น. นักวชภายนอกพระพุทธศาสนาในอินเดียสมัยพุทธกาล. (ส. ตีรฺถิย; ป. ติตฺถิย).
  5. เดียรัจฉาน : [-รัดฉาน] น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดรัจฉาน ก็มี. (ป. ติรจฺฉาน ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
  6. โดมร : [โดมอน] น. หอก, หอกซัด. (ป., ส. โตมร).
  7. โดย ๑ : [โดย, โดยะ] น. นํ้า. (ป. โตย).
  8. โดรณ, โดรณะ : [โดน, โดระนะ] (แ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เสาต้าย, เสาค่าย, เสาระเนียด. (ป., ส. โตรณ).
  9. ตจ- : [ตะจะ-] น. หนัง, เปลือกไม้. (ป.).
  10. ตจปัญจกกรรมฐาน : [ตะจะปันจะกะกำมะถาน] น. กรรมฐานอัน ัณฑิตกําหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตั้งแต่ผม ขน เล็ ฟัน ไป ถึงหนังเป็น ๕ อย่าง. (ป.).
  11. ตจสาร : [ตะจะสาน] น. ต้นไม้มีผิวเปลือกแข็งเช่นต้นไผ่. (ป. ตจสาร ว่า ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น).
  12. ตติย- : [ตะติยะ-] ว. ที่ ๓, คําร ๓, มักใช้ประกอหน้าคําอื่น เช่น ตติยวาร. (ป.).
  13. ตถาคต : [ตะถาคด] น. พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. ตถาคต ว่า พระผู้ไปแล้ว อย่างนั้น เป็นคําที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกพระองค์เอง).
  14. ตนัย : [ตะไน] (แ) น. ลูกชาย. (ป., ส.).
  15. ตนุ ๑ : [ตะนุ] (แ) น. ตัว, ตน. ส. ฉัน, ข้าพเจ้า. (ป., ส.).
  16. ตนุมัธยมา, ตนุมัธยา : [-มัดทะยะ-] น. ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง. (ส.; ป. ตนุมชฺฌา).
  17. : น. พิธีข่มกิเลสโดยทรมานตัว; การําเพ็ญเพื่อให้กิเลสเาง, การข่มกิเลส, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม). (ป., ส. ตป ว่า ความ เพียรเครื่องเผาผลาญกิเลส).
  18. ตปนียะ : น. ทองคํา. (ป., ส.).
  19. ตม- ๑, ตโม- : [ตะมะ-] น. ความมืด, ความเศร้าหมอง, ความเขลา. (ป.; ส. ตมสฺ).
  20. ตยุติ : [ตะยุติ] (แ) ก. เคลื่อน, ตาย, (โดยมากใช้แก่เทวดา) เช่น ก็จะจยรตยุติ ลงเกอด. (ม. คําหลวง ทศพร). (ส.; ป. จุติ).
  21. ตรณี : [ตะระนี] (แ) น. เรือ. (ป., ส.).
  22. ตรรก-, ตรรกะ : [ตักกะ] (แ) น. ความตรึก, ความคิด. (ส. ตรฺก; ป. ตกฺก).
  23. ตรละ ๑ : [ตะระละ] (แ) น. ข้าวต้ม. (ป., ส.).
  24. ตรละ ๒ : [ตะระละ] (แ) น. พลอยเม็ดกลางของเครื่องสร้อยคอ, สร้อยคอ; เพชร, เหล็ก; พื้นล่าง, พื้นรา; ส่วนลึก. ว. กลักลอก; หวั่นไหว, สั่น. (ป., ส.).
  25. ตรลา : [ตะระลา] (แ) น. ข้าวต้ม; นํ้าผึ้ง; เหล้า. (ป., ส. ตรล).
  26. ตระคัร : [ตฺระคัน] (แ) น. ไม้กฤษณา เช่น กฤษณาขาวและตระคัร ก็มี. (ม. คําหลวง มหาพน). (ป.; ส. ตคร).
  27. ตรังค-, ตรังค์ : [ตะรังคะ-, ตะรัง] (แ) น. ลูกคลื่น. (ป., ส.).
  28. ตรัยตรึงศ์ : [ไตฺรตฺรึง] น. ดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้นที่พระอินทร์ครอง. (ส. ตฺรยสฺตฺรึศตฺ; ป. เตตฺตึส ว่า สามสิสาม).
  29. ตรีจีวร : น. ผ้า ๓ ผืน หมายถึง ผ้าของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทา), แต่โดยมากใช้ไตรจีวร เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร. (ส. ตฺริจีวร; ป. ติจีวร).
  30. ตรีปิฎก : น. พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งมี ๓ หมวดใหญ่ หมวดหนึ่ง เรียกว่า ปิฎกหนึ่ง คือ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมซึ่งโดยมากเรียกว่า ปรมัตถ์, ใช้ว่า ไตรปิฎก ก็ได้. (ส. ตฺริปิฏก; ป. ติปิฏก ว่า ตะกร้า ๓).
  31. ตรึก ๑ : [ตฺรึก] ก. นึก, คิด. (ส. ตรฺก; ป. ตกฺก).
  32. ตรึงศ- : [ตฺรึงสะ-] (แ) ว. สามสิ. (ส. ตฺรึศตฺ; ป. ตึส).
  33. ตรุ ๒ : [ตะรุ] (แ) น. ต้นไม้. (ป., ส.).
  34. ตรุณ, ตรุณะ : [ตะรุน, ตะรุนะ] (แ) น. เด็กรุ่น. ว. ดรุณ, หนุ่ม, อ่อน, รุ่น, เพศหญิงใช้ว่า ตรุณี. (ป., ส.).
  35. ตฤณ, ตฤณ- : [ตฺริน, ตฺรินนะ-] (แ) น. หญ้า. (ส.; ป. ติณ).
  36. ตฤตีย-, ตฤตียะ : [ตฺริตียะ-] (แ) ว. ที่ ๓. (ส.; ป. ตติย).
  37. ตฤท : [ตฺริด] (แ) ก. เจาะ, แทง. (ส.; ป. ตุท).
  38. ตฤป : [ตฺริ] (แ) ก. อิ่ม, ให้อิ่ม, ให้กิน, เลี้ยง, กิน เช่น ตฤปตฤณ. (ส.; ป. ตปฺป).
  39. ตฤษณา : [ตฺริดสะหฺนา] (แ) น. ความปรารถนา, ความอยาก, ความดิ้นรน. (ส.; ป. ตณฺหา).
  40. ตละ ๓ : [ตะละ] น. พื้น, ชั้น. (ป.).
  41. ตักกะ : (แ) น. ตรรก, ความตรึก, ความคิด. (ป. ตกฺก).
  42. ตักษณี : น. ผึ่ง, ขวาน. (ส.; ป. ตจฺฉนี).
  43. ตัจฉก : [-ฉก] (แ) น. ช่างไม้. (ป.; ส. ตกฺษก).
  44. ตัจฉนี : [-ฉะนี] (แ) น. ผึ่ง, ขวาน. (ป.; ส. ตกฺษณี).
  45. ตัณฑุละ : [ตันดุละ] (แ) น. ข้าวสาร. (ป., ส.).
  46. ตัณหา : [ตันหา] น. ความทะยานอยาก, โดยทั่วไปใช้หมายถึงความใคร่ในกาม. (ป.; ส. ตฺฤษฺณา).
  47. ตันติ : (แ) น. แแผน; เชือก, เส้นด้าย, สายเชือก. (ป., ส.). ตันติภาษา น. ภาษาที่มีแแผน. (ส.; ป. ตนฺติภาสา).
  48. ถนป : [ถะหฺน] (แ; กลอน) น. เด็ก, เด็กกินนม. (ป.).
  49. ถนะ : (แ; กลอน) น. ถัน, เต้านม. (ป.).
  50. ดี : [ถะอดี] (แ) น. ช่างไม้. (ป. ถปติ; ส. สฺถปติ).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5272

(0.0956 sec)