Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปา , then บา, , ปะ, ปา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปา, 5436 found, display 201-250
  1. ปริต, ปริต-, ปริตตะ : [ปะริด, ปะริดตะ-] ว. น้อย. (ป. ปริตฺต; ส. ปรีตฺต).
  2. ปริตยาค : [ปะริดตะยาก] (แบบ) ก. บริจาค. (ส. ปริตฺยาค; ป. ปริจฺจาค).
  3. ปริทัยหัคคี : [ปะริไทหักคี] น. ไฟธาตุที่ทํากายให้กระสับกระส่าย. (ป. ปริฑยฺหคฺคิ).
  4. ปริเทวนะ, ปริเทวะ : [ปะริเทวะ-] น. ความครํ่าครวญ, ความรําพันด้วยเสียใจ, ความบ่นเพ้อ. (ป.).
  5. ปรินิพพาน : [ปะรินิบพาน] น. การดับรอบ, การดับสนิท, การดับโดยไม่เหลือ; เรียกอาการตายของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์. (ป.; ส. ปรินิรฺวาณ).
  6. ปริปันถ์ : [ปะริ-] น. อันตราย, อันตรายในทางเปลี่ยว. (ป., ส.).
  7. ปริพนธ์ : [ปะริ-] ก. ผูก, แต่ง, ร้อยกรอง. (ป. ปริพนฺธ).
  8. ปริพัตร : [ปะริพัด] ก. บริพัตร. (ป. ปริวตฺต; ส. ปริวรฺต).
  9. ปริพันธ์ : [ปะริ-] ก. บริพันธ์. (ป.).
  10. ปริพาชก : [ปะริ-] น. นักบวชผู้ชายในอินเดีย นอกพระพุทธศาสนา, เพศหญิง ใช้ว่า ปริพาชิกา หรือ ปริพาชี. (ป. ปริพฺพาชก).
  11. ปริภาษ, ปริภาษณ์ : [ปะริพาด] ก. บริภาษ. (ส.; ป. ปริภาส).
  12. ปริภุญช์ : [ปะริพุน] ก. กิน. (ป., ส.).
  13. ปริโภค : [ปะริโพก] ก. บริโภค. (ป.).
  14. ปริมณฑล : [ปะริมนทน] น. วงรอบ; ความเรียบร้อย เช่น นุ่งห่มให้เป็นปริมณฑล. (ป.).
  15. ปริมัท : [ปะริมัด] ก. นวด, บีบ, ขยํา. (ป.; ส. ปริมรฺทน, ปริมรฺท).
  16. ปริยัติ : [ปะริยัด] น. การเล่าเรียนพระไตรปิฎก. (ป. ปริยตฺติ).
  17. ปริยาย : [ปะริ-] น. อย่าง, ทาง, หนทาง; การกล่าวอ้อมค้อม, นัยทางอ้อม, ตรงข้ามกับ นิปริยาย คือ อย่างตรง; การสอน, การเล่าเรื่อง. ว. อ้อม; (กฎ) หมายความถึงกรณีที่เจตนาในการกระทำมิได้แสดงออก อย่างชัดแจ้ง เป็นคำที่มีความหมายตรงกันข้ามกับคำว่าชัดแจ้ง. (ป.).
  18. ปริโยสาน : [ปะริ-] น. ที่สุดลงโดยรอบ (หมายความว่า ที่สุดหรือจบลงอย่าง บริบูรณ์แล้ว), จบ. (ป.).
  19. ปริวรรต, ปริวรรต- : [ปะริวัด, ปะริวัดตะ-] ก. หมุนเวียน เช่น ปริวรรตเงินตรา; เปลี่ยนแปลง, เปลี่ยนไป, แปรไป. (ส. ปริวรฺต; ป. ปริวตฺต).
  20. ปริวาร : [ปะริวาน] น. บริวาร. (ป.).
  21. ปริวาส : [ปะริวาด] น. การอยู่ค้างคืน, การอยู่แรมคืน; ชื่อกรรมที่ภิกษุต้อง อาบัติสังฆาทิเสสต้องประพฤติ. (ป.).
  22. ปริวิตก : [ปะริ-] ก. นึกเป็นทุกข์หนักใจ. (ป. ปริวิตกฺก ว่า การตรึกตรอง).
  23. ปริเวณ : [ปะริ-] น. บริเวณ. (ป.).
  24. ปริษการ : [ปะริดสะกาน] น. บริขาร. (ส. ปริษฺการ; ป. ปริกฺขาร).
  25. ปริษัท : [ปะริสัด] น. บริษัท. (ส. ปริษทฺ; ป. ปริส).
  26. ปริสัญญู : [ปะริสันยู] น. ผู้รู้จักประชุมชนและกิริยาที่จะต้องประพฤติต่อประชุมชน นั้น ๆ ว่า หมู่นี้เมื่อเข้าไปหาจะต้องทํากิริยาอย่างนี้ จะต้องพูดอย่างนี้ เป็นต้น. (ป.).
  27. ปริสุทธิ : [ปะริสุดทิ] ก. บริสุทธิ์. (ป.).
  28. ปริหาน : [ปะริ-] น. ความเสื่อมรอบ, ความเสื่อมทั่วไป. (ป.).
  29. ปริหาร : [ปะริหาน] น. บริหาร. (ป.).
  30. ปริหาส : [ปะริหาด] ก. บริหาส. (ป.).
  31. ปละ ๑ : [ปะละ] น. ชื่อมาตรานํ้าหนักมคธ ๑๐๐ ปละ เป็น ๑ ตุลา, ๒๐ ตุลา เป็น ๑ ภาระ. (ป., ส.).
  32. ปลาต : [ปะลาด] ก. หนีไป. (ป.).
  33. ปลายนาการ : [ปะลายะนากาน] ก. หนีไป. (ป.).
  34. ปลาสนาการ : [ปะลาดสะนากาน] ก. หนีไป. (ป.).
  35. ปลิโพธ : [ปะลิโพด] น. ความกังวล, ความห่วงใย. (ป.).
  36. ปวัตน-, ปวัตน์ : [ปะวัดตะนะ-, ปะวัด] น. ความเป็นไป. (ป.).
  37. ปวารณา : [ปะวาระนา] ก. ยอมให้ภิกษุสามเณรขอหรือเรียกร้องเอาได้ เช่น ขอของจากผู้ปวารณา ใบปวารณา; บอกยอมให้ใช้ได้ด้วยความ เต็มใจ เช่น ขอปวารณาจะใช้อะไรก็บอก; พิธีกรรมทางศาสนา ยอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ ทําในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันออกพรรษา, เรียกวันออกพรรษาว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา. (ป.).
  38. ปวาล : [ปะวาน] น. ประวาล. (ป.; ส. ปฺรวาล).
  39. ปวาส : [ปะวาด] ก. ประพาส. (ป.; ส. ปฺรวาส).
  40. ปวาฬ : [ปะวาน] น. ประพาฬ. (ป.; ส. ปฺรวาฑ).
  41. ปวิธ : [ปะวิด] ก. บพิธ. (ป. ป + วิ + ธา).
  42. ปวิเวก : [ปะวิเวก] น. ที่สงัดเงียบ. (ป.).
  43. ปวีณ : [ปะวีน] ว. ฉลาด, มีฝีมือดี. (ป.).
  44. ปวุติ : [ปะวุดติ] น. ความเป็นไป, เรื่องราว. (ป. ปวุตฺติ).
  45. ปศุ : [ปะสุ] น. สัตว์เลี้ยงสําหรับใช้แรงงาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย บางทีก็รวมถึงสัตว์เลี้ยงที่ใช้เป็นอาหารด้วย เช่น แพะ แกะ หมู, มักใช้ประกอบคํา สัตว์ เป็น ปศุสัตว์. (ส.; ป. ปสุ).
  46. ปสพ : [ปะสบ] (แบบ) น. สัตว์เลี้ยง; ของที่เกิดขึ้น, ของที่มีขึ้น; ดอกไม้, ลูกไม้. (ป. ปสุ, ปสว).
  47. ปสันน-, ปสันนะ : [ปะสันนะ] (แบบ) ก. เลื่อมใส. (ป.).
  48. ปสัยห-, ปสัยหะ : [ปะไสหะ] (แบบ) ก. ข่มขี่, ข่มเหง. (ป.).
  49. ปสุ : [ปะสุ] น. ปศุ. (ป.; ส. ปศุ).
  50. ปสูติ : [ปะสูด] น. ประสูติ. (ป.; ส. ปฺรสูติ).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5300 | 5301-5350 | 5351-5400 | 5401-5436

(0.1533 sec)