Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปา , then บา, , ปะ, ปา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปา, 5436 found, display 801-850
  1. ครุ ๓ : [คะรุ] น. ครู. (ป. ครุ, คุรุ, ว่า ครู; ส. คุรุ ว่า ครู).
  2. ครุก- : [คะรุกะ-] (แบบ) ว. หนัก เช่น ครุกาบัติ ว่า อาบัติหนัก. (ป.).
  3. ครุฑ : [คฺรุด] น. พญานกในเทพนิยาย เป็นพาหนะของพระนารายณ์, ใช้เป็น ตราแผ่นดินและเครื่องหมายทางราชการ. (ส.; ป. ครุฬ).
  4. ครุวาร : [คะรุวาน] น. วันพฤหัสบดี ถือว่าเป็นวันครู. (ป.).
  5. ครู ๑ : [คฺรู] น. ผู้สั่งสอนศิษย์, ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์. (ป. ครุ, คุรุ; ส. คุรุ).
  6. คฤหบดี : [คะรึหะบอดี] น. ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คหบดี ก็ว่า. (ส. คฺฤหปตี; ป. คหปติ).
  7. คฤหปัตนี : [คะรึหะปัดตะนี] (แบบ) น. หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของ คฤหบดี, คหปตานี ก็ว่า. (ส. คฺฤหปตฺนี; ป. คหปตานี).
  8. คฤหัสถ์ : [คะรึหัด] น. ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส. (ส. คฺฤหสฺถ; ป. คหฏฺ?).
  9. คล : [คน] (แบบ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. (ม. คําหลวง กุมาร). (ป., ส.).
  10. คลี : [คฺลี] (โบ) น. ลูกกลม เช่น เล่นคลี โยนคลี, (โบ) การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่ง ผู้เล่นขี่ม้าตีลูกกลมด้วยไม้ เช่น ให้พระยาสามนต์คนดี มาตีคลีพนันในสนาม. (สังข์ทอง); (ถิ่น-อีสาน) การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่งแต่ละฝ่ายใช้ไม้ตีลูกกลม ซึ่งทำด้วยไม้ขนาดลูกมะนาวหรือโตกว่าเล็กน้อย ฝ่ายที่ตีลูกไปสู่ที่หมาย ทางฝ่ายของตนได้ก่อนเป็นฝ่ายชนะ; การเล่นลูกกลมด้วยลีลาเยื้องกรายเพื่อ บูชาเทพเจ้า เช่น นางเริ่มเดาะคลีบูชาพระศรีเทวี. (กามนิต). (เทียบ ส. คุฑ, คุล, โคล; ป. คุฬ ว่า ลูกกลม).
  11. คห- : [คะหะ-] (แบบ) น. เรือน, ใช้เป็นคําหน้าสมาส เช่น คหกรรม. (ป.).
  12. คหบดี : [คะหะบอ-] น. ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คฤหบดี ก็ว่า. (ป.).
  13. คหปตานี : น. หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของคหบดี, คฤหปัตนี ก็ว่า. (ป.).
  14. คหัฐ : [คะหัด] (ปาก) น. คฤหัสถ์. (ป. คหฏฺ?).
  15. คัคน-, คัคนะ : [คักคะนะ] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน).
  16. คัคนัมพร : [คักคะนําพอน] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อมฺพร = ฟ้าฟ้า).
  17. คัคนางค์ : [คักคะนาง] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + องฺค = ส่วนแห่งฟ้า).
  18. คัคนานต์ : [คักคะนาน] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อนฺต = สุดฟ้า).
  19. คังไคย : น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คังไคยหัตถี กายสีเหมือน สีนํ้าไหล, คงไคย ก็ว่า. (ดู กาฬาวก). (ป. คงฺเคยฺย, ส. คางฺเคย).
  20. คัจฉะ : [คัดฉะ] (แบบ) น. ไม้กอ เช่น คัจฉลดาชาติ. (ม. ร. ๔). (ป.).
  21. คันถ- : [คันถะ-] น. คัมภีร์. (ป.; ส. คฺรนฺถ). คันถธุระ น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. (ป.; ส. คฺรนฺถ + ธุร).
  22. คันถรจนาจารย์ : [-รดจะนาจาน] น. อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์. (ป. คนฺถ + ป., ส. รจน + ส. อาจารฺย).
  23. คันธกุฎี : น. ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระคันธกุฎี. (ป.).
  24. คันธ-, คันธะ : [คันทะ-] (แบบ) น. กลิ่น, กลิ่นหอม, เมื่อใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า หอม. (ป., ส.); ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คันธหัตถี กายสีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม. (ดู กาฬาวก).
  25. คันธมาทน์ : ว. ที่มีกลิ่นหอมทำให้สัตว์มัวเมา. น. ชื่อภูเขา เรียกว่า ภูเขาคันธมาทน์ คือ ภูเขาผาหอม. (ป., ส.).
  26. คันธารราษฎร์ : [-ทาระราด] น. ชื่อแคว้นโบราณ อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย; ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง สําหรับตั้งในพิธีขอฝนและแรกนาเป็นต้น. (ป., ส. คนฺธาร = ชื่อแคว้น + ส. ราษฺฏฺร = รัฐ, แคว้น).
  27. คัพภ-, คัพภ์ : [คับพะ-, คับ] น. ครรภ์, ท้อง; ห้อง. (ป.).
  28. คัพโภทร : [คับโพทอน] น. ครรโภทร, ท้องมีลูก. (ป. คพฺภ + อุทร).
  29. คัมภีร-, คัมภีร์ : [คําพีระ-, คําพี] น. หนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์ เป็นต้น; ลักษณนามเรียกหนังสือตําราเหล่านี้ เช่น คัมภีร์หนึ่ง คัมภีร์ โหราศาสตร์ ๒ คัมภีร์. ว. ลึกซึ้ง. (ป.).
  30. คาธ : [คาด] (โบ) ก. จับ, กิน, เช่น จันทรคาธ สุริยคาธ. (เทียบ ป. คาห; ส. คฺราห).
  31. คาพยุต : [คาพะยุด] (แบบ) น. คาวุต, มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว ( = ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น). (ป. คาวุต; ส. คฺวยูต).
  32. คาม, คาม- : [คามะ-, คามมะ-] (แบบ) น. บ้าน, หมู่บ้าน. (ป.).
  33. คามณี : [คามะ-, คามมะ-] (แบบ) น. ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน, หัวหน้า. (ป.).
  34. คามณีย์ : [คามะนี] น. ผู้ฝึกหัดม้าหรือช้าง, หมอช้าง, นายสารถี, เช่น พลคชคณผาดผ้าย คามณีย์ทาย จําทวยทวน. (สมุทรโฆษ). (ป.).
  35. คามภีร์ : [คามพี] ว. ลึกซึ้ง. (ส., ป. คมฺภีร).
  36. คามโภชก : [คามะ-, คามมะ-] น. นายบ้าน, นายตําบล, ผู้ใหญ่บ้าน, กํานัน. (ป.).
  37. คามวาสี : [คามะ-, คามมะ-] น. ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ใช้สําหรับเรียกคณะสงฆ์ ฝ่ายคันถธุระ, คู่กับ อรัญวาสี คณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระ. (ป., ส.).
  38. คามี : ใช้ประกอบท้ายคําอื่น แปลว่า ผู้ไป, ผู้ถึง, เช่น นิพพานคามี ว่า ผู้ถึงนิพพาน, วัฏคามี ว่า ผู้ไปในวัฏฏะ. (ป.).
  39. คายกคณะ : [คายะกะ-] น. หมู่คนผู้ขับร้อง, พวกขับร้อง, ลูกคู่. (ป., ส.).
  40. คายก, คายก- : [-ยก, คายะกะ-] (แบบ) น. ผู้ร้องเพลง, ผู้ขับร้อง. (ป., ส.).
  41. คายัน : (แบบ) ก. ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น สยงสังคีตคายัน. (ม. คําหลวง มหาราช). (ป., ส.).
  42. คารพ : [-รบ] น. ความเคารพ, ความนับถือ. (ป. คารว).
  43. คารวะ : [คาระ-] น. ความเคารพ, ความนับถือ. ก. แสดงความเคารพ. (ป.).
  44. คาวี : น. วัว, วัวตัวเมีย, เช่น คชสารโคคาวี. (กฎ. ราชบุรี). (ป.).
  45. คาวุต : (แบบ) น. มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว (= ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น), คาพยุต ก็ว่า. (ป.).
  46. คิมหะ, คิมหานะ : [คิม-] (แบบ) น. ฤดูร้อน. (ป.).
  47. คิริ, คิรี : น. ภูเขา. (ป., ส. คิริ).
  48. คิลาน-, คิลานะ : [คิลานะ-] น. คนเจ็บ. (ป.).
  49. คิลานปัจจัย : น. ปัจจัยสําหรับคนไข้, วัตถุเป็นเครื่องอาศัยของผู้เจ็บไข้, ยารักษาโรค. (ป.).
  50. คิลานเภสัช : น. ยารักษาโรค. (ป. คิลาน + เภสชฺช).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5300 | 5301-5350 | 5351-5400 | 5401-5436

(0.1393 sec)