Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เกลื้อน , then กลอน, เกลื้อน .

Royal Institute Thai-Thai Dict : เกลื้อน, 987 found, display 151-200
  1. ชงคา : (กลอน) น. ราชโองการ เช่น ชุลีกรรับชงคาครรไล. (นิ. เกาะแก้วกัลกตา).
  2. ชมไช : (กลอน) ก. ชื่นชมยินดี, รื่นเริง, เช่น พนคณนกหคชมไช. (ม. คําหลวง มหาพน).
  3. ชลนัยน์, ชลนา, ชลเนตร : (กลอน) น. นํ้าตา.
  4. ชลี : (กลอน) ก. อัญชลี, ไหว้, เช่น ชลีกรงอนงามกิริยา. (อิเหนา). (ตัดมาจาก อัญชลี).
  5. ชังคา : (กลอน) น. ราชโองการ เช่น อย่าหมอบมัวคอยฟังพระชังคา. (พาลีสอนน้อง).
  6. ช้าช่อน : (กลอน) ว. งาม.
  7. ชาเยนทร์, ชาเยศ : (กลอน) น. เมีย. (ส.).
  8. ชีวงคต : (กลอน) ก. ตาย.
  9. ชีวัน : (กลอน) น.ชีวิต, สิ่งที่มีชีวิต.
  10. ชีวา, ชีวี : (กลอน) น. ชีวิต. (ส. ชีวี ว่า สัตว์มีชีวิต).
  11. ชีวาตม์ : (กลอน) น. ชีวิตของตน.
  12. ชีวาลัย : (กลอน) น. ชีวิต เช่น ก็สิ้นชีวาลัยไปเมืองฟ้า. (รามเกียรติ์ ร. ๑). ก. ตาย เช่น เพียงศรีอนุชาชีวาลัย.
  13. ชุ : (กลอน) น. ต้นไม้ เช่น กินลูกชุลุเพรางาย. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์). (ต. ชุ ว่า ต้นไม้).
  14. ชุลี : (กลอน) น. การประนมมือ, การไหว้. (ตัดมาจาก อัญชลี).
  15. เชิงกรวย : (กลอน) น. กรวยเชิง เช่น ภูษาเชิงกรวยรูจี. (อิเหนา).
  16. ซ้อแซ้ : (กลอน) ว. ซอแซ, เสียงจอแจ, เช่น ผินหน้าปรับทุกข์กันซ้อแซ้. (สังข์ทอง).
  17. ซะซ่อง : (กลอน) ว. ซ่อง, เงื่อง.
  18. ซะซอเซีย : (กลอน) ว. เสียงนกร้องจอแจ.
  19. ซะซิกซะแซ : (กลอน) ว. เสียงร้องไห้มีสะอื้น.
  20. ซะซิบ : (กลอน) ว. เสียงเช่นเสียงนกเล็ก ๆ ร้อง.
  21. ซะเซาะ : (กลอน) ก. เซาะ, ทําให้แหว่งเข้าไป, ทําให้พังเข้าไป.
  22. ซะเซียบ : (กลอน) ว. เงียบเชียบ.
  23. ซี้ซอน : (กลอน) ว. ซอกซอน, ลี้ลับ.
  24. ซู่ ๓ : (กลอน) ก. ลากไป, คร่าไป.
  25. เซ็ก : (กลอน) ก. เซ็งแซ่ เช่น เซ็กห้องเสียงหัว. (นิทราชาคริต).
  26. ดักดน : (กลอน) ว. ลําบาก, ตรากตรําอยู่นาน, เช่น แสนสะดุ้งดักดน. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์).
  27. ด่าว : (กลอน) ว. อาการดิ้นอย่างดิ้นแด่ว ๆ ดิ้นยัน ๆ, เด่า หรือ เด่า ๆ ก็ว่า.
  28. ดือ : (กลอน) น. สะดือ เช่น ขุนช้างฉุดผ้าคว้าจิ้มดือ. (ขุนช้างขุนแผน).
  29. ดูดู๋, ดูหรู : (กลอน) อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแค้นใจ.
  30. แด : (กลอน) น. ใจ.
  31. ต่อ ๓ : (กลอน) ก. รบ เช่น ซึ่งเจ้ามาต่อด้วยพ่อได้. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
  32. ตอด ๒ : (กลอน) น. ต้นสลอด.
  33. ตะติน : (กลอน) ว. เตาะแตะ, ต้อย ๆ, บอกอาการเดิน เช่น แล่นตะตินยงงท่า. (ม. คําหลวง ชูชก).
  34. ตะละ : (กลอน) ว. ดุจ, เหมือน, เช่น ลําต้นตะละคันฉัตร; แต่ละ เช่น ตะละคน.
  35. ถ้อง : (กลอน) น. ทาง เช่น พฤกษาในเถื่อนถ้อง. (ม. คําหลวง มหาพน).
  36. ถ้อถ้อย : (กลอน) น. คําโต้. ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, บางแห่งใช้ ท่อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี.
  37. ถะกัด : (กลอน) ก. ตระกัด, ยินดี.
  38. ถะเกิน : (กลอน) ว. สูง, ชู, คํ้า.
  39. ถะถั่น : (กลอน) ว. เร็ว ๆ, พลัน ๆ; เป็นหลั่น ๆ.
  40. ถะถับ : (กลอน) ว. เสียงดีดนิ้วมือ.
  41. ถะถุนถะถัน : (กลอน) ว. หยาบช้า เช่น คําถะถุนถะถันว่า คําหยาบช้า.
  42. ถั่งถ้อย : (กลอน) ก. พูดพลั่ง ๆ ออกมา, เบิกความ.
  43. ถ่าว : (กลอน) ว. รุ่นสาว, รุ่นหนุ่ม, เช่น นงถ่าว, แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี. (ม. คําหลวงทศพร).
  44. ถี่เท้า : (กลอน) ว. เดินเร็ว.
  45. ถีบทาง : (กลอน) ก. เดิน.
  46. ท่ง : (กลอน) น. ทุ่ง.
  47. ทบ ๒ : (กลอน) ก. กระทบ เช่น ของ้าวทบทะกัน. (ตะเลงพ่าย).
  48. ท่วย : (กลอน) น. หมู่, เหล่า.
  49. ท้วย : (กลอน) ว. อ่อนช้อย, งอน.
  50. ทวยโถง : (กลอน) ก. จัดกระบวนกลางแปลง, ถ้วยโถง หรือ ท่วยโถง ก็ใช้.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0424 sec)