Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เกลื้อน , then กลอน, เกลื้อน .

Royal Institute Thai-Thai Dict : เกลื้อน, 987 found, display 251-300
  1. แบหลา. : (กลอน) ก. ฆ่าตัวตาย เช่น เห็นเพลิงพลุ่งรุ่งโรจน์โชตนา ก็แบหลาโจนเข้าในอัคคี, ฉวยคว้าได้กริชของพี่ยา จะแบหลาชีวัน ให้บรรลัย, น้องจะแบหลาครานี้ ตายตามพระพี่ที่หายไป. (อิเหนา).
  2. ประชวม : (กลอน) ก. ประชุม.
  3. ประทบ : (กลอน) ก. กระทบ เช่น ประทบประทะอลวน. (ตะเลงพ่าย).
  4. ประเพ้อ : (กลอน) ก. เพ้อ.
  5. ประลาย : (กลอน) แผลงมาจาก ปลาย.
  6. ประลึง : (กลอน) ก. จับต้อง, ลูบคลํา.
  7. ประลุง : (กลอน) ก. ปลาบปลื้ม, ยินดี.
  8. ประอบ : (กลอน) น. ผอบ.
  9. ประอร : (กลอน) ว. งาม.
  10. ประอึง : (กลอน) ก. อึง, ดัง, เอ็ด, อึกทึก. (บุณโณวาท).
  11. ปลดปลง : (กลอน) ก. ตาย.
  12. ปารเมศ : (กลอน) น. บารมี.
  13. ปูวา : (กลอน) น. ขนม เช่น ปูวาต้มแดงต้มขาว. (กฎหมายเก่า). (ป. ปูว).
  14. เปตา : (กลอน) น. สัตว์เกิดในอบายภูมิพวกหนึ่ง; ผู้ตายไปแล้ว.
  15. เป็นใด : (กลอน) ว. เป็นอะไร, อะไร.
  16. ไป่ : (กลอน) ว. ไม่.
  17. เผือ : (กลอน) ส. ข้า, ฉัน, เช่น สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ. (ลอ), เป็น สรรพนามบุรุษที่ ๑.
  18. เผือน ๑ : (กลอน) น. ป่า.
  19. พกา : (กลอน) น. นกยาง.
  20. พงศา : (กลอน) น. ผู้มีชาติสกุล.
  21. พนาวา : (กลอน) น. ป่า.
  22. พบู ๑ : (กลอน) น. กาย, ตัว. (ป., ส. วปุ).
  23. พบู ๒ : (กลอน) น. หน้า; ดอกไม้ เช่น พบูบานประสานสี. ว. งาม; ขาว, ด่อน.
  24. พยัคฆา, พยัคฆิน, พยัคฆี : (กลอน) น. เสือโคร่ง.
  25. พระนอม, พระน้อม : (กลอน) น. จอมเขาหรือที่มีพุ่มไม้, พนอม ก็ว่า.
  26. พระลบ : (กลอน) น. พลบ.
  27. พระลือ : (กลอน) ว. สว่าง.
  28. พระแวว : (กลอน) ว. แพรว, แวววาว, มีแสงวับ ๆ.
  29. พระหาม, พระฮาม : (กลอน) น. เวลาเช้ามืด. (ข. พฺรหาม).
  30. พอก ๒ : (กลอน) ก. โพกผ้า. น. ผ้าโพกคล้ายหมวก.
  31. พักตรา : (กลอน) น. หน้า.
  32. พาทย์ : (กลอน) น. เครื่องประโคม. (ส. วาทฺย).
  33. พาล ๒, พาลา : (กลอน) ว. อ่อน, เด็ก, รุ่น. (ส., ป.); ชั่วร้าย, เกเร, เกะกะ, เช่น คนพาล. ก. หาเรื่องทำให้วุ่นวาย, หาเรื่องทำให้เดือดร้อน, เช่น พาลหาเรื่อง พาลหาเหตุ. น. คนชั่วร้าย, คนเกเร, เช่น คบคนพาล พาลพาไปหาผิด. (ป.).
  34. ฟ้ง : (กลอน) ก. ฟุ้ง.
  35. ฟะฟัด : [กลอน] ก. ฟัด, ฟาด.
  36. ฟื้นองค์ : (กลอน) ก. ตื่น (ใช้แก่พระมหากษัตริย์).
  37. ม่ง ๒ : (กลอน) ก. มุ่ง.
  38. มวน ๔ : (กลอน) ว. ม่วน. (ดู มอน).
  39. มะม่าว : (กลอน) ก. เมื่อยล้า, อ่อนเพลีย. ว. เผือด, เศร้า.
  40. มะมี่ : (กลอน) ก. มี่, อึงมี่, เอิกเกริก, แซ่, อึกทึก.
  41. มะเมื่อย, มะเหมื่อย : (กลอน) ว. เรื่อย ๆ, มาเนือง ๆ, มาติด ๆ กัน, ใช้ เหมื่อย ๆ ก็ได้.
  42. มังสี ๒ : (กลอน) ว. เนื้องาม, ผิวงาม, เช่น เฉกโฉมแม่มังสี เสาวภาคย์ กูเอย. (นิ. นรินทร์).
  43. มาตุรงค์, มาตุเรศ : (กลอน) น. แม่.
  44. มาลี ๒ : (กลอน) น. ดอกไม้ทั่วไป.
  45. มำเลือง : (กลอน) ว. เมลือง, งาม, รุ่งเรือง, เปล่งปลั่ง, สุกใส.
  46. แม่งม้าง : (กลอน) ก. เริดร้าง เช่น สมุทโฆษว้างพินทู แม่งม้าง. (หริภุญชัย).
  47. โมเรส : (กลอน) น. นกยูง.
  48. ไม่ได้ศัพท์ : (กลอน) ว. ไม่ได้เรื่อง, ไม่ได้ความ, เลอะเทอะเอาเป็นหลักไม่ได้, เช่น พูดเลอะหลงไหลไม่ได้ศัพท์. (สังข์ทอง).
  49. ไม่ได้สิบ : (กลอน) ก. งงจนคิดอะไรไม่ออกหรือทําอะไรไม่ถูก เช่น ท้าวสามนต์ เสียใจไม่ได้สิบ. (สังข์ทอง).
  50. ยกหยิบ : (กลอน) ก. หยิบยก เช่น จะยกหยิบธิบดีเป็นที่ตั้ง. (นิ. ภูเขาทอง).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-987

(0.0315 sec)