Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คำแถลงการณ์, คำแถลง, การณ์ , then การณ, การณ์, คำถลงการณ, คำแถลง, คำแถลงการณ์ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : คำแถลงการณ์, 22 found, display 1-22
  1. คำแถลงการณ์ : (กฎ) น. คําแถลงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ ซึ่งคู่ความ ฝ่ายหนึ่งกระทําหรือยื่นต่อศาลด้วยมุ่งหมายที่จะเสนอความเห็นต่อศาล ในข้อความในประเด็นที่ได้ยกขึ้นอ้างในคําคู่ความหรือในปัญหาข้อใด ที่ศาลจะพึงมีคําสั่งหรือคําพิพากษา ซึ่งในข้อเหล่านี้คู่ความฝ่ายนั้นเพียงแต่ แสดง หรือกล่าวทบทวนหรือยืนยันหรืออธิบายข้อความแห่งคำพยาน หลักฐานและปัญหาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงทั้งปวง.
  2. การณ์ : [กาน] น. เหตุ, เค้า, มูล, เช่น รู้เท่าไม่ถึงการณ์ สังเกตการณ์. (ป., ส.).
  3. คำแถลง : [-ถะแหฺลง] (กฎ) น. คําชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
  4. มองการณ์ไกล : ก. คาดคะเน เหตุการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียงโดยอาศัยเหตุผล หรือประสบการณ์เป็นต้น, เห็นการณ์ไกล ก็ว่า.
  5. รักษาการณ์ : ก. เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น มีทหารรักษาการณ์อยู่ตลอดเวลา. ว. ที่เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น ทหารรักษาการณ์ ยามรักษาการณ์.
  6. รู้เท่าไม่ถึงการณ์ : ก. เขลา, คาดไม่ถึงว่าจะเกิดเหตุร้ายขึ้น, เช่น รับฝาก ของโจรไว้โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าของนั้นเป็นของโจร.
  7. รูปการณ์ : น. ลักษณะของเรื่องราว, เค้ามูลของเรื่องราว, เช่น คดีนี้ดูรูป การณ์แล้วจะต้องแพ้ รูปการณ์บอกว่าบริษัทนี้จะเจริญต่อไปภายหน้า.
  8. เห็นการณ์ไกล : น. คาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง โดยอาศัยเหตุผลหรือประสบการณ์เป็นต้น, มองการณ์ไกล ก็ว่า.
  9. อันตรการณ์ : น. เหตุขัดข้อง, อุปสรรค, ความติดขัด. (ป.).
  10. สมาส : [สะหฺมาด] น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียว ตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. (ป., ส.).
  11. คำพ้องเสียง : น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมี ความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์.
  12. จุกช่องล้อมวง : (โบ) ก. อารักขาพระเจ้าแผ่นดินในเวลาเสด็จประพาส หรือในเหตุบางประการเช่นเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงพระประชวร. (จุกช่อง คือ จัดคนให้รักษาการณ์อยู่ตามช่องทางเช่นตรอก ซอย ปากคลอง ล้อมวง คือจัดคนให้ล้อมที่ประทับเป็นชั้น ๆ).
  13. นอนเวร : ก. ผลัดเปลี่ยนกันมานอนรักษาการณ์นอกเวลาทํางาน.
  14. ปลูกเรือนคร่อมตอ : (สํา) ก. กระทําสิ่งซึ่งล่วงลํ้า ก้าวก่าย หรือทับสิทธิ ของผู้อื่น จะโดยรู้เท่าถึงการณ์หรือไม่ก็ตาม.
  15. พยากรณ์ : [พะยากอน] ก. ทํานายหรือคาดการณ์โดยอาศัยหลักวิชา. น. ชื่อคัมภีร์ โหราศาสตร์ว่าด้วยการทํานาย. (ป., ส. วฺยากรณ).
  16. รายทาง : ว. เรียงรายไปตามทางเป็นระยะ ๆ เช่น ตำรวจยืนรักษาการณ์ รายทาง มีประชาชนมาคอยต้อนรับนายกรัฐมนตรีตามรายทาง.
  17. ลูกป้อม : น. ที่กำบังตัวทหารที่รักษาการณ์อยู่บนกำแพงป้อม เป็น รูปสี่เหลี่ยม.
  18. วิทัศน์ : น. การมองการณ์ไกล, วิสัยทัศน์. (อ. vision).
  19. วิสัยทัศน์ : น. การมองการณ์ไกล, วิทัศน์. (อ. vision). วิสาข, วิสาขะ ๒, วิสาขา [วิสาขะ] น. ชื่อเดือนที่ ๖ แห่งจันทรคติ ตกราวเดือนพฤษภาคม, ถ้าในปีอธิกมาสจะตกราวเดือนมิถุนายน. (ป.).
  20. หลวมตัว : ก. เผลอไผลหรือถลำตัวเข้าไปโดยเข้าใจผิดหรือเพราะรู้เท่า ไม่ถึงการณ์เป็นต้น เช่น เขาหลวมตัวเล่นการพนันจนหมดตัว.
  21. หูกว้างตากว้าง : ว. รอบรู้ทันเหตุการณ์, มองเห็นการณ์ไกล, หูยาวตายาว ก็ว่า.
  22. หูยาวตายาว : ว. รอบรู้ทันเหตุการณ์, มองเห็นการณ์ไกล, หูกว้างตากว้าง ก็ว่า.
  23. [1-22]

(0.1026 sec)