Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชิน , then ชน, ชิน, ชินะ, ชีน .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชิน, 8776 found, display 1-50
  1. ชิน : น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยตะกั่วและดีบุก นิยม ใช้ทําพระเครื่อง; (โบ) ชิน หรือ ชินธาตุ หมายถึง ดีบุก. (ปรัดเล).
  2. ชิน : [ชินะ, ชินนะ] น. ผู้ชนะ, พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอบกับ คําอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
  3. ชิน : ก. เคยมาแล้วบ่อย ๆ, คุ้นหรือเจน.
  4. ชิน : ก. บุอย่างบุทองแดง.
  5. ชิน : น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อมหาวีระ, เชน หรือ ไชนะ ก็ว่า. (ส.).
  6. ชินบุตร : [ชินนะบุด] น. พระสงฆ์. (ส. ชินปุตะ; ป. ชินปุตฺต).
  7. ชินชา : ว. เคยบ่อย ๆ จนเลิกเอาใจใส่.
  8. เจน : ว. คุ้น, ชิน, เช่น เจนตา, ชํานาญ เช่น เจนสังเวียน, จําได้แม่นยํา เช่น เจนทาง.
  9. เชน : น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย ศาสดาชื่อมหาวีระ มี ๒ นิกายคือ นิกายทิคัมพร และ นิกายเศวตัมพรหรือเศวตามพร ใช้ภาษา ปรากฤตเป็นภาษาทางศาสนา ถือมั่นในหลักอหิงสาและ มังสวิรัติ, ชิน หรือ ไชนะ ก็ว่า. (ส. ไชน).
  10. ไชนะ : น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อมหาวีระ, ชิน หรือ เชน ก็ว่า. (ส.).
  11. ชิโนรส : ดู ชิน.
  12. นวโลหะ : น. โลหะ ๙ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคํา ๑ เพียงนี้เรียกว่า เบญจโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคําตัดมาจาก ''เจ้านํ้าเงินว่า เป็นแร่ชนิดหนึ่ง สีเขียวเป็นสีนํ้าเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และ บริสุทธิ์ ๑ (คือทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. (ตําราสร้าง พระพุทธรูป).
  13. เบญจโลห : ะ น. โลหะ ๕ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมา จาก ''เจ้าน้ำเงิน'' ว่าเป็นแร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน) และ สังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และ บริสุทธิ์ ๑ (คือ ทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. (ตำราสร้าง พระพุทธรูป).
  14. สัตโลหะ : [สัดตะ] น. โลหะ ๗ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, เพียงนี้เรียกว่า เบญจโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมาจาก ''เจ้าน้ำเงิน'' ว่า เป็นแร่ชนิดหนึ่ง สีเขียว เป็นสีน้ำเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และบริสุทธิ์ ๑ (คือทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. (ตำราสร้างพระพุทธรูป).
  15. ชน ๒, ชน : [ชนนะ] น. คน (มักใช้ในภาษาหนังสือ).(ป., ส.).
  16. คุ้นเคย : ก. รู้จักชอบพอสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น พวกเขาทำงานด้วยกัน มานาน เลยคุ้นเคยกัน, เคยเห็นเคยทําบ่อย ๆ จนชิน เช่น เขาเดินในที่มืด ได้เพราะคุ้นเคยกับสถานที่แห่งนี้.
  17. เคย ๒ : เคยทํา = ได้ทํามาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยา ที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย. ก. ชิน, คุ้น, เช่น เคยสนาม เคยเวที.
  18. จืดตา : ว. ไม่เข้ม, ไม่เด่น, เบื่อเพราะชินตา.
  19. ชน ๑ : ก. โดนแรง ๆ เช่น รถยนต์ชนต้นไม้, ชิดจนติด เช่น ตั้งตู้ ชนฝา; บรรจบ เช่น ชนขวบ; ให้ต่อสู้กัน เช่น ชนโค ชนไก่. น. เรียกไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน.
  20. ด้านไม้ : ก. ถูกตีมากจนชินเลยไม่รู้จักหลาบจํา.
  21. ทุตวิลัมพิตมาลา : [ทุตะวิลำพิตะ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย.
  22. ชนมาพิธี, ชนมายุพิธี : [ชนนะ] น. อายุ, อายุขัย, กําหนดอายุ, เช่น ครั้นว่าจะสิ้นชนมาพิธีแล้วก็เสด็จเข้าสู่นฤพานแล. (ไตรภูมิ), ก็อยู่จนสิ้นชนมายุพิธี ในธรณีดลน้นน. (ม. คําหลวง ทศพร). (พิธี ว่า กําหนด).
  23. ชนมาพิธี, ชนมายุพิธี : ดู ชนม, ชนม์.
  24. ชื่น ๑ : ก. แจ่มใส เช่น หน้าค่อยชื่นขึ้น. ว. เบิกบาน, ยินดี, เช่น ชื่นใจ ชื่นตา.
  25. ชุมนุมชน : น. หมู่ชนที่รวมกันอยู่หนาแน่น, หมู่ชน ที่มารวมกันมาก ๆ.
  26. เช่น : น. อย่าง, ชนิด, เช่น รู้เช่นเห็นชาติ เช่นนี้ เช่นใด. ว. เหมือน, ใช้นําหน้าคําประสมได้ แปลว่า อย่าง เช่น เช่นนี้ ว่า อย่างนี้, เช่นใด ว่า อย่างใด.
  27. ดอกชนต้น : น. ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ต้นชนดอก ก็ว่า.
  28. ต้นชนดอก : น. ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ดอกชน ต้น ก็ว่า.
  29. ทอ ๒ : (ถิ่น) ก. ขวิด, กระทบ, ชน, เช่น วัวควายทอคนตาย.
  30. ปัจฉิมชน : [ปัดฉิมมะ-] น. ชนที่เกิดภายหลัง.
  31. อันโตชน : น. ''คนภายใน'' หมายถึง คนในตระกูล เช่น บุตร ภรรยา คนใช้. (ป.).
  32. กว่างชน : ดู กว่าง.
  33. คลุมถุงชน : (สํา) น. ลักษณะการแต่งงานที่ผู้ใหญ่จัดการให้ โดยที่เจ้าตัว ไม่รู้จักคุ้นเคยหรือรักกันมาก่อน.
  34. จับแพะชนแกะ : ก. ทําอย่างขอไปที ไม่ได้อย่างนี้ก็เอาอย่างนั้นเข้าแทน เพื่อให้ลุล่วงไป.
  35. ชิ่น : ก. สิ้น, หมด.
  36. ชื่น ๒ : ดู อ้ายชื่น.
  37. ปัญญาชน : น. คนที่มีความรู้หรือความฉลาดอันเกิดแต่การเรียน มามาก.
  38. รันชนรันแชง : (กลอน) ก. กระทบกระทั่งเกิดปั่นป่วนอย่างคลื่นซัดหรือลมพัด. (ข. ร?ฺชํร?ฺแชง).
  39. หันหลังชนกัน : (สํา) ก. ร่วมมือร่วมใจกัน.
  40. หัวชนกำแพง, หัวชนฝา : (สํา) ว. มีลักษณะที่สู้ไม่ยอมถอย.
  41. ชนม, ชนม์ : [ชนมะ, ชน] น. การเกิด. (ส. ชนฺมนฺ).
  42. ชลประทาน : [ชนละ, ชน] น. การทดนํ้าและระบายนํ้า เพื่อการเพาะปลูกเป็นต้น.
  43. โอฆชล : [ชน] น. นํ้าในห้วงลึก. (ป.).
  44. ขวิด ๑ : [ขฺวิด] ก. กิริยาของหมูป่าหรือสัตว์ที่ใช้เขาหรือนอทําร้าย, เสี่ยว, ชน. ว. อาการที่เดินสะดุดขาตัวเองเพราะอายหรือรีบร้อน เรียกว่า เดินขาขวิด.
  45. ชนา : [ชะ] (กลอน) น. ชน เช่น เอาลวดถักคั่นกันชนา. (นิ. เกาะแก้วกัลกตา).
  46. ชนินทร์ : ดู ชน๒ชน.
  47. ชนินทร์ : น. ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน. (ส. ชน + อินฺทฺร).
  48. ชำนน : ก. ชนกัน, โดนกัน. (แผลงมาจาก ชน).
  49. วิชน : [วิ-ชน] ว. ปราศจากคน, ร้าง. (ป., ส.).
  50. อภิชนาธิปไตย : [ทิปะไต, ทิบปะไต] น. ระบอบการปกครอง แบบหนึ่งที่มีอภิชนเป็นใหญ่. (ป. อภิ + ชน + อธิปเตยฺย). (อ. aristocracy).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5300 | 5301-5350 | 5351-5400 | 5401-5450 | 5451-5500 | 5501-5550 | 5551-5600 | 5601-5650 | 5651-5700 | 5701-5750 | 5751-5800 | 5801-5850 | 5851-5900 | 5901-5950 | 5951-6000 | 6001-6050 | 6051-6100 | 6101-6150 | 6151-6200 | 6201-6250 | 6251-6300 | 6301-6350 | 6351-6400 | 6401-6450 | 6451-6500 | 6501-6550 | 6551-6600 | 6601-6650 | 6651-6700 | 6701-6750 | 6751-6800 | 6801-6850 | 6851-6900 | 6901-6950 | 6951-7000 | 7001-7050 | 7051-7100 | 7101-7150 | 7151-7200 | 7201-7250 | 7251-7300 | 7301-7350 | 7351-7400 | 7401-7450 | 7451-7500 | 7501-7550 | 7551-7600 | 7601-7650 | 7651-7700 | 7701-7750 | 7751-7800 | 7801-7850 | 7851-7900 | 7901-7950 | 7951-8000 | 8001-8050 | 8051-8100 | 8101-8150 | 8151-8200 | 8201-8250 | 8251-8300 | 8301-8350 | 8351-8400 | 8401-8450 | 8451-8500 | 8501-8550 | 8551-8600 | 8601-8650 | 8651-8700 | 8701-8750 | 8751-8776

(0.3692 sec)