ตรา : [ตฺรา] น. เครื่องหมายที่มีลวดลายและทําเป็นรูปต่าง ๆ สําหรับประทับเป็น ราย, เช่น ต่อคน ต่อปี; เทียบส่วนกัน เช่น ๓ ต่อ ๑; ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ ประดับในจําพวกราชอิสริยาภรณ์ เช่น ตราช้างเผือก, สําหรับเป็นเครื่องหมาย เช่น ผ้าตรานกอินทรี. ก. ประทับเป็นสําคัญ เช่น ตราไว้; กําหนดไว้, จดจําไว้, เช่น ตราเอาไว้ที; ตั้งไว้ เช่น ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้.
ดร ๑ : [ดอน] (แบบ) น. พ่วง, แพ. (ป., ส. ตร).
ดร ๒ : (โบ) น. ดอน.
ตราตั้ง : น. เอกสารแต่งตั้ง เช่น ตราตั้งพระอุปัชฌายะ ตราตั้งที่พระราชทาน ให้แก่ธนาคารหรือบริษัทห้างร้านเป็นต้นที่ทําประโยชน์ในราชการส่วน พระองค์หรือประเทศชาติ มีสิทธิที่จะใช้ตราครุฑเพื่อแสดงว่าได้รับพระบรม ความตกลงกัน.
ตราไปรษณียากร : น. แสตมป์, (กฎ) บัตรตราใด ๆ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อใช้เป็นค่า ไปรษณียากรหรือค่าธรรมเนียมอื่น หรือจํานวนเงินที่จะต้องเสียในการส่ง ไปรษณียภัณฑ์ รวมทั้งตราไปรษณียากรสําหรับผนึก หรือตราไปรษณียากร ที่พิมพ์ ดุน หรือแสดงไว้โดยวิธีอื่นบนซอง กระดาษห่อ ไปรษณียบัตร หรือ สิ่งอื่น ๆ.
ตราภูมิ : (โบ) น. หนังสือประจำตัวสำหรับคุ้มค่าน้ำค่าตลาดสมพัตสรได้เพียง ราคา ๑ ตำลึง. (ประกาศ ร. ๔), มักใช้เข้าคู่กับคำ คุ้มห้าม เป็น ตราภูมิคุ้มห้าม.
ตราขุนพล : น. ลายที่ขีดเป็นกากบาทที่ก้นหม้อตาลสําหรับปักไว้กันผี.
ตราหน้า : ก. หมายหน้าไว้; หยามหน้า, สบประมาท.
กษัยเลือด : น. กษัยเนื่องจากเลือด น้ำเหลือง และเสมหะเป็นพิษ. [กะสาบ] (แบบ) น. กระษาปณ์, เงินตราที่ทําด้วยโลหะ, ตําลึง (= ๒๐ มาสก) เช่น ได้ถึงร้อยกษาปณ์. (ม. ร่ายยาว ชูชก). [กะสิดิ, กะสีดิ] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร),. อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่า พระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร). (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์). [กะสีนาสบ] (แบบ) น. ขีณาสพ, พระผู้สิ้นอาสวะ, พระอรหันต์, เขียนเป็น กษีณาศรพ กษิณาศรพย และ กษิณาสยพ ก็มี เช่น อันว่าพระโลกยเชษฐาจารย์ ก็มีพุทธโองการพระคาถา ให้กษิณาศรพทงงหลายฟงง ดังนี้. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์), อันว่าพระสาศดาบพิตร จะปกาสิตคาถา แก่กษิณาศรพยทงงหลาย ด่งงนี้. (ม. คําหลวง ฉกษัตริย์). (ส. กฺษีณ + อาสฺรว). [กะสีระ] (แบบ) น. น้ำนม เช่น กษีรสุทธมฤธู. (เสือโค). (ส.).
เงินทองตรา : (โบ) น. เงินตราที่ทําด้วยทองหรือเงินเพื่อเป็นที่ระลึกใน โอกาสต่าง ๆ.
ดวงตรา : น. เครื่องหมายที่มีลักษณะเป็นรูปต่าง ๆ สำหรับประทับเป็นสำคัญ เช่นดวงตราแผ่นดิน ดวงตราของทบวงการเมือง.
ดวงตราไปรษณียากร : น. ดวงตราที่ใช้ปิดเป็นค่าธรรมเนียมที่ต้องเสีย สำหรับส่งจดหมายหรือไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ทางไปรษณีย์.
ท้องตรา : น. หนังสือคําสั่งที่ประทับตราของเจ้ากระทรวง, เดิม เรียกว่า สารตรา.
ทุพภิกขันดร, ทุพภิกขันดรกัป : [ทุบพิกขันดอน, ทุบพิกขันดะระกับ] น. ระยะเวลาที่กําหนดไว้ว่า เป็นตอนที่ขาดแคลนอาหาร, คู่กับ สัตถันดรกัป คือ ระยะเวลาที่ ฆ่าฟันกันไม่หยุดหย่อน. (ป.).
ประทับตรา : ก. กดตราลงบนเอกสาร.
ปักขันดร : [-ดอน] น. ปักษานดร, ฝ่ายอื่น, อีกฝ่ายหนึ่ง.
ผู้รับตราส่ง : (กฎ) น. บุคคลผู้ซึ่งผู้ตราส่งส่งของไปถึง. (อ. consignee).
พักตรากฤติ : [กฺริด] น. โฉมหน้า เช่น พักตรากฤติอันบริสุท ธิพบูและโสภา. (สมุทรโฆษ). (ส. พกฺตฺร + อากฺฤติ).
รอยตรา : น. รอยประทับของดวงตรา.
สัตถันดร, สัตถันดรกัป : [สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ] น. ชื่อกัปหรือกัลป์หนึ่ง ซึ่งถือว่าคน เสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดร พึงมี. (มาลัยคําหลวง). (ป. สตฺถ + อนฺตร).
อัพภันดร, อัพภันตร : [อับพันดอน, ตะระ] น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัด ในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
อุตตรายัน : [อุดตฺรา] (ดารา) น. จุดสุดทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์ ปรากฏในราววันที่ ๒๒ มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวัน ยาวที่สุด เรียกว่า อุตตรายัน (summer solstice), คู่กับ ทักษิณายัน, ครีษมายัน ก็เรียก. (ป. อุตฺตร + ส. อายน).
อุตราภิมุข : [อุดตะรา] ก. บ่ายหน้าไปทางทิศเหนือ. (ป., ส. อุตฺตราภิมุข).
อุตราวรรต : [อุดตะรา] น. การเวียนซ้าย. ว. เวียนไปทางซ้าย คือ เวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวัฏ ก็ว่า, ตรงข้ามกับ ทักษิณาวรรต หรือ ทักขิณาวัฏ. (ส. อุตฺตราวรฺต; ป. อุตฺตราวฏฺฏ).
อุตราวัฏ : [อุดตะรา] น. การเวียนซ้าย. ว. เวียนไปทางซ้าย คือ เวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวรรต ก็ว่า, ตรงข้าม กับ ทักขิณาวัฏ หรือ ทักษิณาวรรต. (ป. อุตฺตราวฏฺฏ; ส. อุตฺตราวรฺต).
อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ : [อุดตะราสาด, อุดตะรา อาสาด, อุดตะราสานหะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๑ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูป ครุฑหรือช้างพัง, ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย ก็เรียก. (ส. อุตฺตราษาฒ; ป. อุตฺตราสาฬฺห).
กระตราก : ก. ล่ามโซ่, ทุกข์ทรมานในคุก. (ปาเลกัว).
เงินตรา : (กฎ) น. เงินที่รัฐกําหนดขึ้นไว้เพื่อใช้ชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย ได้แก่ เหรียญกระษาปณ์และธนบัตร.
ชีวันตราย : น. อันตรายต่อชีวิต, อันตรายถึงตาย. (ป., ส.).
ชีวันตราย :
ดู ชีว, ชีวะ.
ตรวจตรา : ก. พิจารณาดูให้รอบคอบถี่ถ้วน.
ถึงชีวิตันตราย : ก. ประสบอันตรายถึงตาย.
นิรันตราย : ดู นิร.
นิรันตราย : [รันตะราย] (แบบ) ว. ปราศจากอันตราย. (ป.).
ประจำครั่ง, ประจำตรา : ก. เอาครั่งผนึกแล้วประทับเครื่องหมาย เป็นสําคัญ.
ปักษานดร : [ปักสานดอน] น. ฝ่ายอื่น, อีกฝ่ายหนึ่ง.
ปักษานดร :
ดู ปักษ-, ปักษ์.
ผู้ตราส่ง, ผู้ส่ง : (กฎ) น. บุคคลผู้ทำความตกลงกับผู้ขนส่งเพื่อให้ ขนส่งของไป. (อ. consignor).
พักตรากฤติ :
ดู พักตร, พักตร์.
พิถยันดร : [พิดถะยันดอน] น. ระหว่างวิถี.
พิถยันดร : ดู พิถย.
พุทธันดร : น. ช่วงเวลาที่โลกว่างพระพุทธศาสนา คือ ช่วงเวลาที่ ศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งสูญสิ้นแล้ว และพระพุทธเจ้า พระองค์ใหม่ยังไม่อุบัติ. (ป. พุทฺธนฺตร).
เพศยันดร : [เพดสะยันดอน] น. นามพระบรมโพธิสัตว์ชาติที่ ๑๐ ในทศชาติ, พระเวสสันดร. (ป. เวสฺสนฺตร; ส. ไวศฺยานฺตร).
ระเค็ดระคาย : น. เค้าเงื่อนที่ทราบมานิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยันให้แน่นอนไม่ได้, ระแคะระคาย ก็ว่า.
วนาดร, วนาดอน : น. ป่าสูง. (วนา + ดอน), พนาดอน หรือ พนาดร ก็ว่า.
วนาดร, วนาดอน :
อุตราภิมุข :
ดู อุตดร, อุตร.
อุตราวัฏ :
ดู อุตดร, อุตร.
อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ :