Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถะ , then , ถะ, ถา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ถะ, 195 found, display 1-50
  1. ถะ : น. พระเจดีย์แบบจีน. (จ.).(รูปภาพ ถะ).
  2. ถะถุนถะถัน : (กลอน) ว. หยาบช้า เช่น คําถะถุนถะถันว่า คําหยาบช้า.
  3. ถะมัดถะแมง : (โบ) ว. ทะมัดทะแมง, ขึงขัง, เอาจริงเอาจัง. (ดึกดําบรรพ์).
  4. ถา : ก. ถลา, โผลง; ลับ, ถูให้คม. (ไทยเดิม ถา ว่า โกน).
  5. : พยัญชนะตัวที่ ๒๒ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รถ ปรารถนา.
  6. ปาฐ-, ปาฐะ : [-ถะ] (แบบ) น. เรื่องราว, บาลี, คัมภีร์, วิธีสาธยายคัมภีร์พระเวท. (ป., ส.).
  7. ถบดี : [ถะบอดี] (แบบ) น. ช่างไม้. (ป. ถปติ; ส. สฺถปติ).
  8. ถเมิน : [ถะเมิน] น. พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. (เทียบ ข. เถมิร ว่า ผู้เดิน).
  9. ปาฐกถา : [-ถะกะถา] น. ถ้อยคําหรือเรื่องราวที่บรรยายในที่ชุมนุมชน เป็นต้น. ก. บรรยายเรื่องราวในที่ชุมนุมชนเป็นต้น. (ป.).
  10. กัณฐกะ : [-ถะกะ] น. เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือ กลวิมลกัณ- ฐกก่องคือแสงสรวล. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
  11. กำลังวัวเถลิง : [-ถะเหฺลิง] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Anaxagorea luzonensis A. Gray ในวงศ์ Annonaceae ใบเดี่ยว ออกสลับกัน ดอกสีขาวกลิ่นหอม, โคเถลิง ก็เรียก.
  12. คำแถลง : [-ถะแหฺลง] (กฎ) น. คําชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
  13. โคเถลิง ๑ : [-ถะเหฺลิง] น. ชื่อวัวป่าชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
  14. โคเถลิง ๒ : [-ถะเหฺลิง] ดู กําลังวัวเถลิง.
  15. ถกล : [ถะกน] ก. ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งขึ้น, ตั้งไว้; ในวรรณคดีหมายความว่า งาม, ใช้แผลงเป็น ดํากล ก็มี. (ข. ถฺกล่).
  16. เถกิง : [ถะเกิง] ว. สูงศักดิ์, รุ่งเรือง, กึกก้อง, ลั่นลือ, ใช้แผลงเป็น ดําเกิง ก็มี. (ข. เถฺกีง).
  17. เถลไถล : [ถะเหฺลถะไหฺล] ว. ไม่ตรงไปตรงมาเที่ยวแวะโน่นแวะนี่.
  18. เถลิก : [ถะเหฺลิก] ว. เถิก, เลิกขึ้นไป, เช่น ขากางเกงเถลิกขึ้นไป.
  19. เถลิง : [ถะเหฺลิง] ก. ขึ้น เช่น เถลิงราชย์ เถลิงอํานาจ. ว. ขึ้นหนุ่ม, ขึ้นเปลี่ยว, เช่น วัวเถลิง.
  20. เถลือกถลน : [ถะเหฺลือกถะหฺลน] ว. ลุกลน, ลนลาน, รีบร้อนจนขาดความระมัดระวัง, ถลีถลํา ก็ว่า.
  21. แถง : [ถะแหฺง] น. ดวงเดือน, เดือน.
  22. แถลง : [ถะแหฺลง] ก. บอก เล่า หรือแจ้งให้ทราบเป็นทางการ เช่น แถลงข่าว, กล่าวอธิบาย เช่น จะแถลงให้ทราบ; แสวง เช่น บัดแถลง.
  23. แถลบ : [ถะแหฺลบ] ว. เอียง เช่น นกบินแถลบ, มักใช้ว่า แฉลบ.
  24. ไถง : [ถะไหฺง] น. ตะวัน; วัน. (ข. ไถฺง).
  25. ไถล : [ถะไหฺล] ก. ลื่นไปไม่ตรงทาง. ว. เชือนแช, ไม่ตรงไปตรงมา.
  26. บัดสี, บัดสีบัดเถลิง : [-ถะเหฺลิง] ว. น่าอับอายขายหน้า เป็นที่น่ารังเกียจ.
  27. ปัดไถม : [-ถะไหฺม] (โบ) น. ฝ้าบาง ๆ ที่เกิดขึ้นทําให้เป็นมลทินหรือคลํ้ามัว.
  28. ปีฐะ, ปีฐกะ : [-ถะกะ] น. ตั่ง, ที่นั่ง, เก้าอี้, ม้า. (ป., ส.).
  29. มัญชิษฐะ, มัญชิษฐา : [มันชิดถะ, มันชิดถา] น. ฝาง. (ส.; ป. มญฺเชฏฺ?).
  30. สถบดี : [สะถะบอดี] (แบบ) น. ช่างก่อสร้าง, ช่างไม้. (ส. สฺถปติ; ป. ถปติ).
  31. สมรรถ, สมรรถ : [สะมัด, สะมัดถะ, สะหมัดถะ] ว. สามารถ. (ส. สมรฺถ ว่า ผู้สามารถ; ป.สมตฺถ).
  32. อรรถกถา : [อัดถะกะถา] น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ ที่ไขความพระไตรปิฎก. (ส. อรฺถ + กถา; ป. อตฺถกถา, อฏฺ?กถา).
  33. กนิษฐ-,กนิษฐ์ : [กะนิดถะ-, กะนิด] ว. ''น้อยที่สุด''. (ส.; ป. กนิฏฺ?), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว.(ส.; ป. กนิฏฺ?).
  34. กัณฏกะ, กัณฐกะ : [กันตะกะ, กันถะกะ] (แบบ) น. หนาม. (ป., ส. กณฺฏก).
  35. กัณฐ-, กัณฐา : [กันถะ-] (แบบ) น. คอ. (ป.).
  36. กาษฐะ : [กาดสะถะ] (แบบ) น. ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). (ส.; ป. กฏฺ?).
  37. คันถ- : [คันถะ-] น. คัมภีร์. (ป.; ส. คฺรนฺถ). คันถธุระ น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. (ป.; ส. คฺรนฺถ + ธุร).
  38. จตุตถ-, จตุตถี : [จะตุดถะ-, -ตุดถี] ว. ที่ ๔ เช่นจตุตถจุลจอมเกล้า จตุตถสุรทิน จตุตถีดิถี. (ป.).
  39. จตุร- : [จะตุดถะ-, -ตุดถี] ว. ที่ ๔ เช่นจตุตถจุลจอมเกล้า จตุตถสุรทิน จตุตถีดิถี. (ป.). [จะตุระ-] ว. สี่, ใช้ประกอบหน้าคําที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต. (ส.; ป. จตุ).
  40. จตุรถ- : [จะตุระถะ-] ว. ที่ ๔ เช่น จตุรถาภรณ์. (ส.; ป. จตฺตถ).
  41. ฉัฐ : [ฉัดถะ] (แบบ) ว. ที่ ๖. (ป. ฉฏฺ?).
  42. เชษฐ- ๑ : [เชดถะ] น. พี่ผู้เป็นใหญ่ เช่น เชษฐบุรุษ. (ป. เชฏฺฐ; ส. เชฺยษฺฐ). ว. ''เจริญที่สุด''. (ส.; ป. เชฏฺฐ), (ราชา) ถ้า ใช้ว่า พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว, ถ้าใช้ว่า พระเชษฐภาดา undefined หมายถึง พี่ชาย, ถ้าใช้ว่า พระเชษฐา หมายถึง พี่ชาย.
  43. เชษฐ- ๒ : [เชดถะ] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์เชษฐา เรียกว่า เชษฐมาสคือ เดือน ๗ ตามจันทรคติ ตกในราวเดือน มิถุนายน, ถ้าพระจันทร์เพ็ญเกี่ยวมาทางดาวฤกษ์มูลา เรียกว่า เชษฐมูลมาส. (ป. เชฏฺฐ; ส. เชฺยษฺฐ, ไชฺยษฐ).
  44. เชษฐ- ๓, เชษฐะ : [เชดถะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๘ มี ๑๔ ดวง เห็นเป็นรูปงาช้าง หรือคอนาค เช่น อัษฐรัศนักษัตรสมบุรณยล บัญญัติเชษฐดารา. (สรรพสิทธิ์), ดาวเชษฐา ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ ก็เรียก. (ป. เชฏฺ?า; ส. เชฺยษฺ?า).
  45. ถมอ : [ถะหฺมอ, ถะมอ] น. หิน เช่น ดาดดําถมอทะมื่น. (ม. คําหลวง จุลพน).
  46. ถล, ถละ : [ถน, ถะละ] (แบบ) น. ที่บก, ที่ดอน. (ป.).
  47. ถ้อยแถลง : ถะแหฺลง] น. คําชี้แจง, คําประกาศ, คําอธิบายเป็นทางการ.
  48. ทะมัดทะแมง : ว. คล่องแคล่ว, กระฉับกระเฉง, ไม่เก้งก้าง, เช่น ทํางานทะมัดทะแมง ท่าทางทะมัดทะแมง; รัดกุม เช่น แต่งตัวทะมัดทะแมง, ถะมัดถะแมง ก็ว่า.
  49. ทิฏฐะ, ทิฐ- : [ทิดถะ-] (แบบ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. (ป. ทิฏฺ?; ส. ทฺฤษฺฏ).
  50. ทุรัถยา : [-รัดถะยา] (แบบ) น. ทางไกล. (พงศ. เลขา).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-195

(0.0804 sec)