Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 26 found, display 1-26
  1. : พยัญชนะตัวที่ ๒๒ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ร ปรารนา.
  2. เมิน : [ะเมิน] น. พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. (เทียบ ข. เมิร ว่า ผู้เดิน).
  3. เมินเชิง : น. พลเดินเท้า.
  4. เมินไพร : น. พรานป่า.
  5. วัดวัน : ะหฺวัน] (กลอน) ว. ว่องไว, คล่องแคล่ว.
  6. ี่, ี่ ๆ : ว. มีระยะหรือช่องว่างชิด ๆ กัน เช่น ตะแกรงตาี่ หวีซี่ี่, มีระยะ เวลากระชั้นชิดกัน, ไม่ห่าง, เช่น รมาี่ มีลูกี่ ซอยเท้าี่ ๆ.
  7. ่ ๑ : (กฎ) ก. ชําระหนี้เพื่ออนคืนทรัพย์สินที่จํานําไว้; ซื้อทรัพย์สินที่ขาย ฝากไว้คืนภายในกําหนดเวลา; ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์เพื่อแลก เปลี่ยนเสรีภาพของผูู้กเอาตัวไป ผูู้กหน่วงเหนี่ยว หรือผูู้กกักขัง.
  8. ่ ๒ : (ิ่นพายัพ) ก. าม, พูดคุย.
  9. กด ๑ : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ท ธ ศ ษ ส สะกด ว่า แม่กด หรือ มาตรากด.
  10. ทันตชะ : [ทันตะ-] (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มี เสียงเกิดจากฟัน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ต คือ ต ท ธ น และอักษร ล ส รวมทั้ง ฦ ฦๅ ในภาษาสันสกฤต. (ป.; ส. ทนฺตวฺย).
  11. มาตรา : [มาดตฺรา] น. หลักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก; แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระ โดยไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หลักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกด อยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะกด จัดอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ้ามีตัว ง สะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด จัดอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ้ามีตัว ม สะกด จัดอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ้ามีตัว ย สะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ้ามีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โดยมีเลขกํากับเรียงตามลําดับ; (ฉันทลักษณ์) ระยะเวลาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา.
  12. แม่ : น. หญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คําที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูตน; คําที่ผู้ใหญ่เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความสนิทสนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า แม่นั่น แม่นี่; คําใช้นําหน้านามเพศหญิง แปลว่า ผู้เป็นหัวหน้า เช่น แม่บ้าน; ผู้หญิงที่กระทํากิจการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ค้าขาย เรียกว่า แม่ค้า ทําครัว เรียกว่า แม่ครัว; เรียกสัตว์ตัวเมียที่มีลูก เช่น แม่ม้า แม่วัว; เรียกคน ผู้เป็นหัวหน้าหรือเป็นนายโดยไม่จํากัดว่าเป็นชายหรือหญิง เช่น แม่ทัพ แม่กอง; คํายกย่องเทวดาผู้หญิงบางพวก เช่น แม่คงคา แม่ธรณี แม่โพสพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่กาลี; เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ; เรียกชิ้นใหญ่กว่าในจําพวกสิ่งที่สําหรับกัน เช่น แม่กุญแจ คู่กับ ลูกกุญแจ; แม่นํ้า เช่น แม่ปิง แม่วัง; คําหรือพยางค์ที่มีแต่สระ ไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า แม่กง, คําหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ท ธ ศ ษ ส สะกด เรียกว่า แม่กด, คําหรือพยางค์ ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด เรียกว่า แม่กน, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด เรียกว่า แม่กม, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะกด เรียกว่า แม่เกย แต่ในมูลบทบรรพกิจมี ย ว อ สะกด, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะกด เรียกว่า แม่เกอว.
  13. แววหัวตัวหนังสือ : น. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็น วงกลม เช่นหัวตัว ค ด ง .
  14. หัวเข้า : น. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนเข้าอยู่ภายในเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว ตัว ผ, ตรงข้ามกับ หัวออก. (ดู หัวออก).
  15. อักษรสูง : [อักสอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงเอก ผันด้วย วรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท เช่น ขา ข่า ข้า คําตายพื้นเสียงเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท เช่น ขะ ข้ะ มี ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห.
  16. กำลอง : (โบ; กลอน) ก. ลอง, ประลอง, เช่น เสร็จสองแทงกันจระโจรม จักแล่นแรดโซรม กำลองกำลังเมินเชิง. (สมุทรโฆษ).
  17. ขยิก : [ขะหฺยิก] ว. เร็ว ๆ ี่ ๆ เช่น เกาขยิก ๆ.
  18. จ้น : ว. ี่ ๆ เช่น กินออกจ้นมิได้หยุดช่างสุดแสน. (นิ. ลอนดอน).
  19. จ้ำ ๑ : ก. พายเรือแจวี่ ๆ เช่น เขาจ้ำเรือข้ามฟาก, ฟันหรือแทงี่ ๆ เช่น ผู้ร้ายจ้ำแทง. ว. อาการที่ทำเร็ว ๆ ี่ ๆ เช่น พายเรือจ้ำเอา ๆ เขียนหนังสือจ้ำเอา ๆ.
  20. ซั้น : ว. นั้น; รีบ, เร็ว, ี่, ติด ๆ กัน.
  21. บดี : [ะบอดี] (แบบ) น. ช่างไม้. (ป. ปติ; ส. สฺปติ).
  22. ยิบ ๑ : ว. ยิ่ง, มักใช้ประกอบคํา ี่ หรือ ละเอียด เป็น ี่ยิบ ละเอียดยิบ.
  23. สตันย์ : [สะ] (แบบ) น. นํ้านม. (ส.; ป. ?ฺ?).
  24. บดี : [สะะบอดี] (แบบ) น. ช่างก่อสร้าง, ช่างไม้. (ส. สฺปติ; ป. ปติ).
  25. สมรร, สมรร : [สะมัด, สะมัดะ, สะหมัดะ] ว. สามาร. (ส. สมรฺ ว่า ผู้สามาร; ป.สมตฺ).
  26. สัต : (แบบ) น. เกวียน. (ป.; ส. สารฺ).
  27. [1-26]

(0.0164 sec)