Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นทร์ , then นทร, นทร์ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : นทร์, 39 found, display 1-39
  1. คชินทร์, คเชนทร์ : น. พญาช้าง. (ส. คช + อินฺทฺร).
  2. คชินทร์, คเชนทร์ : ดู คช-.
  3. ชนินทร์ : น. ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน. (ส. ชน + อินฺทฺร).
  4. ชนินทร์ : ดู ชน๒ชน.
  5. เทเพนทร์ : ดู เทพ๑เทพ-.
  6. เทเพนทร์ : น. จอมแห่งเทวดา. (ส.; ป. เทวินฺท).
  7. เทวินทร์, เทเวนทร์ : น. หัวหน้าเทวดา. (ส.; ป. เทวินฺท).
  8. เทวินทร์, เทเวนทร์ : ดู เทว-.
  9. นาคินทร์, นาเคนทร์, นาเคศ, นาเคศวร : [นาคิน, เคน, เคด, เคสวน] น. พญาช้าง, พญางู.
  10. บุรินทร์ : น. เจ้าเมือง; (กลอน) เมืองใหญ่. (ส. ปุรินฺทฺร; ป. ปุรินฺท).
  11. ปรมินทร์, ปรเมนทร์ : [ปะระมิน, ปอระมิน, ปะระเมน, ปอระเมน] น. ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง. (ส.).
  12. ปรมินทร์, ปรเมนทร์ : ดู ปรม-.
  13. พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ : น. พญาเสือโคร่ง.
  14. พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ : ดู พยัคฆ, พยัคฆ์.
  15. พรหมินทร์ : ดู พรหม, พรหม.
  16. พรหมินทร์ : [พฺรมมิน] น. พรหมผู้เป็นใหญ่. (ส.).
  17. พรหเมนทร์, พรหเมศวร : [พฺรมเมน, พฺรมเมสวน] น. พระพรหม ผู้เป็นใหญ่. (ส.).
  18. พรหเมนทร์, พรหเมศวร : ดู พรหม, พรหม.
  19. พานรินทร์, พานเรศ : ดู พานร.
  20. พานรินทร์, พานเรศ : [พานะริน, พานะเรด] (กลอน) น. พญาลิง, ลิง.
  21. ไพรินทร์ : น. กษัตริย์ผู้เป็นข้าศึก.
  22. ไพรินทร์ : ดู ไพริน.
  23. มฤคินทร์, มฤเคนทร์ : [มะรึคิน, -เคน] น. ราชสีห์. (ส. มฺฤค + อินฺทฺร).
  24. มฤคินทร์, มฤเคนทร์ : ดู มฤค, มฤค-.
  25. มเหนทร์ : น. พระอินทร์. (ส.).
  26. วัชเรนทร์ : ดู วัชร, วัชระ.
  27. วัชเรนทร์ : น. พระอินทร์. (ส. วชฺร + อินฺทฺร).
  28. ศักรินทร์, ศักเรนทร์ : น. พระอินทร์ผู้เป็นใหญ่. (ส. ศกฺร + อินฺทฺร).
  29. ศักรินทร์, ศักเรนทร์ : ดู ศักร.
  30. สยามินทร์ : [สะหฺยามิน] น. ผู้เป็นใหญ่ในสยามหมายถึง พระมหากษัตริย์ ของประเทศไทย.
  31. อมรินทร์, อมเรนทร์ : น. พระอินทร์. (ส. อมร + อินฺทฺร).
  32. อมรินทร์, อมเรนทร์ : ดู อมร, อมร.
  33. อรินทร์ : ดู อริ.
  34. อรินทร์ : น. ผู้เป็นใหญ่ฝ่ายข้าศึกหรือฝ่ายศัตรู มักหมายถึงพระราชา หรือเจ้าเมืองใหญ่ของฝ่ายตรงกันข้าม. (ส.).
  35. กระเวนกระวน : (กลอน) ก. วนเวียน เช่น กระเวนกระวนกาม กวนอก พี่นา. (นิ. นรินทร์), หวนตลบ เช่น หอมกระเวนกระวน, เขียนเป็น กรเวนกรวล ก็มี เช่น ชื่อจลาจรเรนทร์ หอมกรเวนกรวล อาจจิญจญจวนใจ. (ม. คำหลวง มหาราช).
  36. ชิน ๔ : [ชินะ, ชินนะ] น. ผู้ชนะ, พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอบกับ คําอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์ หมายความว่า พระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
  37. กระทวย : น. ทวย คือ ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทำเป็นรูปนาค เช่น กระทวยธวัชกลงวง คชินทรจ้วงจับลม. (เพชรมงกุฎ).
  38. กษัยเลือด : น. กษัยเนื่องจากเลือด น้ำเหลือง และเสมหะเป็นพิษ. [กะสาบ] (แบบ) น. กระษาปณ์, เงินตราที่ทําด้วยโลหะ, ตําลึง (= ๒๐ มาสก) เช่น ได้ถึงร้อยกษาปณ์. (ม. ร่ายยาว ชูชก). [กะสิดิ, กะสีดิ] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร),. อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่า พระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร). (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์). [กะสีนาสบ] (แบบ) น. ขีณาสพ, พระผู้สิ้นอาสวะ, พระอรหันต์, เขียนเป็น กษีณาศรพ กษิณาศรพย และ กษิณาสยพ ก็มี เช่น อันว่าพระโลกยเชษฐาจารย์ ก็มีพุทธโองการพระคาถา ให้กษิณาศรพทงงหลายฟงง ดังนี้. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์), อันว่าพระสาศดาบพิตร จะปกาสิตคาถา แก่กษิณาศรพยทงงหลาย ด่งงนี้. (ม. คําหลวง ฉกษัตริย์). (ส. กฺษีณ + อาสฺรว). [กะสีระ] (แบบ) น. น้ำนม เช่น กษีรสุทธมฤธู. (เสือโค). (ส.).
  39. กษิดิ, กษีดิ : [กะสิดิ, กะสีดิ] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร),. อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่า พระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร). (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์).
  40. [1-39]

(0.0460 sec)