Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปัจฉิมโอวาท, ปัจฉิม, โอวาท , then ปจฉม, ปจฉมอวาท, ปจฺฉิม, ปัจฉิม, ปัจฉิมโอวาท, อวาท, โอวาท .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปัจฉิมโอวาท, 23 found, display 1-23
  1. โอวาท : [วาด] น. คําแนะนํา, คําตักเตือน, คํากล่าวสอน. (ป.).
  2. ปัจฉิม, ปัจฉิม- : [ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ-] ว. ตะวันตก; ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. (ป. ปจฺฉิม).
  3. ปัจฉิมยาม : [ปัดฉิมมะ-] น. ยามหลัง, ยามสุดท้าย, ในบาลีแบ่งคืน ออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปัจฉิมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา ถึงย่ำรุ่ง หรือ ๖ นาฬิกา.
  4. ปัจฉิมพรรษา : [ปัดฉิมมะพันสา, ปัดฉิมพันสา] น. ''พรรษาหลัง'', ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาหลัง คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, คู่กับ บุริมพรรษา หรือ ปุริมพรรษา. (ป. ปจฺฉิม + ส. วรฺษ).
  5. ปัจฉิมชน : [ปัดฉิมมะ-] น. ชนที่เกิดภายหลัง.
  6. ปัจฉิมทิศ : [ปัดฉิมมะทิด] น. ทิศตะวันตก.
  7. ปัจฉิมภาค : [ปัดฉิมมะพาก] น. ส่วนเบื้องปลาย.
  8. ปัจฉิมวัย : [ปัดฉิมมะ-] น. วัยตอนปลาย, วัยชรา. (ป.).
  9. ปรัศจิม : [ปฺรัดสะจิม] (แบบ) น. ปัจฉิม. (ส. ปศฺจิม; ป. ปจฺฉิม).
  10. สัมผัสสระ : น. สัมผัสที่มีเสียงสระหรือเสียงสระกับตัวสะกดในมาตรา เดียวกัน เช่น (รูปภาพ อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ. (เพลงยาวถวาย โอวาท), คนใจจืดชืดชื้อเหมือนชื่อบาง ควรตีห่างเหินกันจนวันตาย). (นิ. วัดสิงห์).
  11. ขยัน ๑ : [ขะหฺยัน] ก. ทําการงานอย่างแข็งขันไม่ปล่อยปละละเลย, ทําหรือ ประพฤติเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, ไม่เกียจคร้าน; แข็งแรง, เข้าที, เช่น เนื้อหนังขยันมั่นคงนัก. (อิเหนา), พอกํ้ากึ่งกลางนั้นขยันนัก. (เพลงยาวถวายโอวาท).
  12. ใจแตก : ว. ประพฤติไปตามที่ตนนิยมในทางที่ผิดหรือนอกโอวาทจนเคยตัว.
  13. ดุ : ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือ ไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสีย ชีวิตมาก, เช่น นํ้าปีนี้ดุ ที่ตรงนี้ดุ. ว. มีลักษณะทําให้ดูน่ากลัวหรือน่า เกรงขาม เช่น หน้าดุ ตาดุ; ร้าย, ร้ายกาจ, เหี้ยมโหด, เช่น หมาดุ เสือดุ.
  14. นวโกวาท : [นะวะโกวาด] น. โอวาทเพื่อผู้บวชใหม่. (ป.).
  15. บุริมพรรษา : [บุริมมะพันสา, บุริมพันสา] น. ''พรรษาต้น'', ช่วง ระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาต้น คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, ปุริมพรรษา ก็ว่า, คู่กับ ปัจฉิมพรรษา. (ป. ปุริม + ส. วรฺษ).
  16. ปฐมยาม : [ปะถมมะ-] น. ยามต้น, ในบาลีแบ่งคืนออกเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม ปฐมยามกำหนดเวลาตั้งแต่ย่ำค่ำ หรือ ๑๘ นาฬิกา ถึง ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา. (ป.).
  17. มัชฌิมยาม : [มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-] น. ยามกลาง, ในบาลีแบ่งคืนเป็น ๓ ยาม กำหนดยามละ ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม ปัจฉิมยาม มัชฌิมยาม กำหนดเวลาตั้งแต่ ๔ ทุ่ม หรือ ๒๒ นาฬิกา ถึงตี ๒ หรือ ๒ นาฬิกา. (ป.).
  18. มีอายุ : ว. สูงอายุ, ย่างเข้าปัจฉิมวัย.
  19. ยาม, ยาม : [ยาม, ยามะ] น. ชื่อส่วนแห่งวัน ยามหนึ่งมี ๓ ชั่วโมง รวมวันหนึ่งมี ๘ ยาม; ในบาลีแบ่งกลางคืนเป็น ๓ ยาม ยามหนึ่งมี ๔ ชั่วโมง เรียกว่า ปฐมยาม มัชฌิมยาม และปัจฉิมยาม; (โหร) ช่วงแห่งวัน เป็นเวลายามละ ชั่วโมงครึ่ง กลางวันมี ๘ ยามตามลำดับคือ สุริยะ ศุกระ พุธะ จันเทา เสารี ครู ภุมมะ สุริยะ กลางคืนมี ๘ ยามตามลำดับคือ รวิ ชีโว ศศิ ศุโกร ภุมโม โสโร พุโธ รวิ; คราว, เวลา, เช่น ยามสุข ยามทุกข์ ยามเช้า ยามกิน; คนเฝ้า สถานที่หรือระวังเหตุการณ์ตามกําหนดเวลา เช่น แขกยาม ไทยยาม คนยาม, เรียกอาการที่อยู่เฝ้าสถานที่หรือระวังเหตุการณ์เช่นนั้นว่า อยู่ยาม หรือ เฝ้ายาม. (ป.).
  20. ว่าง่าย, ว่านอนสอนง่าย : ก. อยู่ในโอวาท, เชื่อฟังคำสั่งสอนโดยดี.
  21. ว่ายาก : ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน, ว่ายากสอนยาก ก็ว่า.
  22. สอนยาก : ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, เช่น เขาเป็นเด็กสอนยาก, มักใช้ เข้าคู่กับคำ ว่ายาก เป็น ว่ายากสอนยาก.
  23. ปัศจิม : [ปัดจิม] ว. ตะวันตก; เบื้องหลัง เช่น ฝ่ายปัศจิม. (ส.; ป. ปจฺฉิม).
  24. [1-23]

(0.1126 sec)