Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ผัก , then ผก, ผัก .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ผัก, 189 found, display 1-50
  1. ผัก : น. พืชที่ใช้เป็นอาหาร; ใช้เป็นคํานําหน้าชื่อพืชบางจําพวก เช่น ผักกาด ผักกูด ผักปลาบ ผักหนอก.
  2. ผักเสี้ยน : น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Cleome วงศ์ Capparidaceae เช่น ผักเสี้ยนป่า (C. chelidonii L.) ดอกสีม่วง, ผักเสี้ยนขาว หรือ ผัก ส้มเสี้ยน (C. gynandra L.) ดอกสีขาวยอดดองแล้วกินได้, และ ผักเสี้ยนผี (C. viscosa L.) ดอกสีเหลือง ใช้ทํายาได้.
  3. ผักทอดยอด : (ราชา) น. ผักบุ้ง.
  4. ผักเผ็ด : (ถิ่นพายัพ) น. ผักคราด. (ดู คราด๒).
  5. ผักรู้นอน : (ราชา) น. ผักกระเฉด.
  6. ผักสามหาว : (ราชา) น. ผักตบชนิด Monochoria hastata Solms .
  7. ผักหนอง : [หฺนอง] (ถิ่นพายัพ) น. ผักกระเฉด. (ดู กระเฉด).
  8. ผักหวาน : น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Sauropus androgynus (L.) Merr. ในวงศ์ Euphorbiaceae ยอดกินได้, ผักหวานบ้าน ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้ต้น ชนิด Melientha suavis Pierre ในวงศ์ Opiliaceae ยอดและดอกอ่อน กินได้, ผักหวานป่า ก็เรียก.
  9. ผักหวานบ้าน : ดู ผักหวาน(๑).
  10. ผักหวานป่า : ดู ผักหวาน(๒).
  11. ผักโขม : ดู ขม๒(๑).
  12. ผักคราด, ผักคราดหัวแหวน : ดู คราด.
  13. ผักตบชวา : ดู ตบ.
  14. ผักต้มขนมยำ : (สํา) ว. ผสมผเสปนเปกันยุ่ง.
  15. ผักบุ้ง : ดู บุ้ง.
  16. ผักบุ้งขัน : ดู บุ้งขัน ที่ บุ้ง๒.
  17. ผักบุ้งจีน : ดู บุ้ง.
  18. ผักบุ้งทะเล : ดู บุ้งทะเล ที่ บุ้ง๒.
  19. ผักบุ้งฝรั่ง : ดู บุ้งฝรั่ง ที่ บุ้ง๒.
  20. ผักบุ้งร้วม : ดู บุ้งร้วม.
  21. ผักบุ้งรั้ว : ดู บุ้งฝรั่ง ที่ บุ้ง๒.
  22. ผักเบี้ย, ผักเบี้ยใหญ่ : ดู เบี้ย.
  23. ผักปลัง : ดู ปลัง.
  24. ผักปุ่มปลา : ดู ปอด.
  25. ผักแพว : ดู แพว(๑).
  26. ผักแว่น : น. (๑) (ถิ่นตราด) ต้นบัวบก. [ดู บัวบก(๑)].(๒) ดู แว่น๒(๑).
  27. ผักหนอก : [หฺนอก] (ถิ่นพายัพ, อีสาน) น. ต้นบัวบก. [ดู บัวบก(๑)].
  28. ผักหนาม : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lasia spinosa (L.) Thwaites ในวงศ์ Araceae ก้านใบ ก้านช่อดอกและต้นมีหนาม ใบอ่อนมีพิษ แต่ดองหรือต้ม แล้วกินได้ เหง้าใช้ทํายาได้.
  29. ผักโหม : ดู ขม๒(๑).
  30. ผักอีแปะ : ดู ตับเต่า(๑).
  31. ขนมผักกาด, ขนมหัวผักกาด : น. ของคาวชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งผสมหัวผักกาด นึ่งให้สุก แล้วผัด กับถั่วงอก ผักกุยช่าย.
  32. ลูกผักบุ้ง : น. ลูกตุ้มที่ห้อยสายสร้อยข้อมือ มีลักษณะคล้ายลูกของผักบุ้ง.
  33. หริต : [หะริด] น. ของเขียว; ผัก, หญ้า. ว. เขียว; สีนํ้าตาล, สีเหลือง, สีเหลืองอ่อน. (ป., ส.).
  34. น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง : (สํา) ก. พูดมากแต่ได้เนื้อหาสาระน้อย.
  35. ผก : ก. หกกลับ, ปก; (ถิ่นพายัพ) แอบ, ซ่อน, ดัก.
  36. ผักขวง, ผักขี้ขวง : ดู ขวง.
  37. กะ- ๕ : พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคําซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อ สละสลวยหรือเน้นคําให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น โดยแยกเอาตัวสะกดในแม่กกแห่งคํา หน้ามานํา เช่น นกยาง เป็น นก-กะยาง, ผักโฉม เป็น ผัก-กะโฉม, ลูกดุม เป็น ลูก-กะดุม. ต่อไปนี้เป็นคําที่ขึ้นด้วยพยางค์ กะ- ซึ่งเคยใช้เป็นกระ- ได้, ให้ดูคําแปลที่ กระ- นั้น ๆ คือ :- กะเกริก, กะเกริ่น. กะง่อนกะแง่น, กะเง้ากะงอด. กะจก, กะจ้อน, กะจ้อยร่อย, กะจะ, กะจัง, กะจับ, กะจับปิ้ง, กะจับปี่, กะจ่า, กะจาด, กะจาบ, กะจิบ, กะจิริด, กะจี้, กะจุก, กะจุ๋งกะจิ๋ง, กะจุบ, กะจุ๋มกะจิ๋ม, กะจุย, กะจู้, กะจู๋กะจี๋, กะเจอะกะเจิง, กะเจา, กะเจ้า, กะเจาะ, กะเจิง, กะเจิดกะเจิง, กะเจี้ยง, กะเจี๊ยบ, กะเจียว, กะแจะ, กะโจน, กะโจม. กะฉอก, กะฉ่อน, กะฉับกะเฉง, กะฉีก, กะฉูด, กะเฉด, กะโฉม. กะชดกะช้อย, กะชอน, กะชั้น, กะชับ, กะชาก, กะชาย, กะชุ, กะชุ่มกะชวย, กะแชง. กะซิก, กะซิบ, กะซุง, กะซุบกะซิบ, กะเซ็น, กะเซอ, กะเซอะกะเซอ, กะเซอะกะเซิง, กะเซ้า, กะเซิง, กะแซะ. กะดก, กะด้ง, กะดวง, กะดวน, กะด้วมกะเดี้ยม, กะดอ, กะดอง, กะดอน, กะดอม, กะดักกะเดี้ย, กะดังงา, กะดาก, กะด้าง, กะดางลาง, กะดาน, กะดิก, กะดิ่ง, กะดิบ, กะดี่, กะดี้, กะดี้กะเดียม, กะดึง, กะดุกกะดิก, กะดุ้งกะดิ้ง, กะดุบกะดิบ, กะดุม, กะดูก, กะเด็น, กะเด้า, กะเดาะ, กะเดิด, กะเดียด, กะเดือก, กะเดื่อง, กะแด็ก ๆ, กะแด้แร่, กะแด่ว, กะแดะ, กะโดก, กะโดด, กะโดน, กะได. กะตรกกะตรํา, กะต้อ, กะตรับ, กะตรุม, กะต้วมกะเตี้ยม, กะต่องกะแต่ง, กะต๊อบ, กะต้อยตีวิด, กะตัก, กะตั้ว, กะต่าย, กะติก, กะตือรือร้น, กะตุก, กะตุกกะติก, กะตุ้งกะติ้ง, กะตุ้น, กะเตง, กะเต็น, กะเตอะ, กะเตาะ, กะเตาะกะแตะ, กะเตื้อง, กะแต, กะโตกกะตาก. กะถด, กะถั่ว, กะถาง, กะถิก, กะถิน, กะเถิบ, กะโถน. กะทง, กะทบ, กะทอก, กะท่อนกะแท่น, กะท่อม, กะท้อมกะแท้ม, กะทะ, กะทั่ง, กะทั่งติด, กะทา, กะทาย, กะทาหอง, กะทํา, กะทิง, กะทึง, กะทืบ, กะทุง, กะทุ้ง, กะทุ่ม, กะทุ่มหมู, กะทู้, กะเท่, กะเทียม, กะแทก. กะนั้น, กะนี้, กะโน้น, กะไน. กะบก, กะบวย, กะบะ, กะบั้วกะเบี้ย, กะบาก, กะบาย, กะบิ, กะบิด, กะบี่, กะบุง, กะบุ่มกะบ่าม, กะบู้กะบี้, กะบูน, กะเบน, กะเบา, กะเบียด, กะเบียน, กะเบื้อง, กะแบกงา, กะแบะ. กะปรี้กะเปร่า, กะป้อกะแป้, กะป๋อง, กะปอดกะแปด, กะปั้วกะเปี้ย, กะป่ำ, กะปุก, กะปุ่มกะป่ำ, กะเป๋า, กะเปาะ, กะโปก. กะผลีกะผลาม, กะผีก. กะพอก, กะพอง, กะพัก, กะพัง, กะพังเหิร, กะพังโหม, กะพัน, กะพี้, กะพือ, กะพุ้ง, กะเพาะ, กะเพิง, กะเพื่อม. กะฟัดกะเฟียด, กะฟูมกะฟาย. กะมัง, กะมิดกะเมี้ยน, กะเมาะ. กะย่องกะแย่ง, กะย่อม, กะยาง, กะยาหงัน, กะยิ้มกะย่อง, กะยืดกะยาด. กะรอก, กะเรียน, กะไร. กะลําพัก, กะลําพุก, กะลุมพุก, กะลุมพู. กะวาน, กะวิน, กะวีกะวาด, กะวูดกะวาด, กะเวยกะวาย, กะแวน. กะสง, กะสม, กะสร้อย, กะสวน, กะสวย, กะสอบ, กะสัง, กะสัน, กะสับกะส่าย, กะสา, กะสาบ, กะสาย, กะสือ, กะสุน, กะสูบ, กะเสด, กะเส็นกะสาย, กะเส่า, กะเสาะกะแสะ, กะเสือกกะสน, กะแสง, กะแสะ. กะหนก, กะหนาบ, กะหมั่ง, กะหัง, กะหึม, กะหืดกะหอบ, กะแห, กะแหน่, กะแหนะ, กะโห้. กะอ้อกะแอ้, กะออดกะแอด, กะออม, กะอ้อมกะแอ้ม, กะแอก, กะแอม, กะไอ.
  38. เครื่องปรุง : น. สิ่งที่ใช้ในการปรุงอาหารเป็นต้น เช่น เนื้อสัตว์ ผัก เครื่องแกง กะทิ ผลไม้.
  39. ตลาด : [ตะหฺลาด] น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ; (กฎ) สถานที่ซึ่งปรกติจัดไว้ให้ ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้าประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรือ อาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการจําหน่ายสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความ รวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สําหรับให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้า ประเภทดังกล่าวเป็นประจําหรือเป็นครั้งคราวหรือตามวันที่กําหนด.
  40. สากะ : น. ผัก. (ป.; ส. ศาก).
  41. ผัคคุณ, ผัคคุณ : [ผักคุน, ผักคุนะ] น. เดือนผลคุน, เดือนผาลคุน. (ป.).
  42. ก็ ๒ : นิ. ไขความ เช่น ถึงแก่กรรมก็ตายนั่นเอง ประสาทพิการก็บ้านั่นเอง, เน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้ง เช่น ทั้งฟืนเจ้าก็หัก ทั้งผักเจ้าก็หา.
  43. กงไฉ่ : น. ผักกาดเค็มชนิดหนึ่งของจีน. (จ. ก้งไฉ่ ว่า ผักดองเค็ม).
  44. กระจายหางดอก : น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและใบดังเถาผักบุ้งเทศ แต่ไม่มีหัว มีดอกและฝักอย่างผักบุ้งเทศ เชื่อกันว่าว่านชนิดนี้ใช้เมล็ดตําละลาย กับเหล้าแก้พิษเสือ พิษจระเข้ และพิษสุนัขบ้า. (กบิลว่าน).
  45. กระเจี๊ยบ : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Abelmoschus esculentus (L.) Moench ในวงศ์ Malvaceae ผลสีเขียว ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้เป็นผัก, กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย หรือ มะเขือมอญ ก็เรียก.
  46. กระเฉด : น. ชื่อไม้น้ำชนิด Neptunia oleracea Lour. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นลอยอยู่ในน้ำ ลําต้นอ่อนอุ้มน้ำ มีปลอกเป็นปุยขาว ๆ เป็นทุ่น เรียกว่า นม ใบย่อยเล็กเมื่อถูกสัมผัสก็หุบราบไป ดอกเหลืองเล็กออก ชิดกันเป็นก้อนกลม ลําต้นและใบใช้เป็นอาหารได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักรู้นอน, พายัพ เรียก ผักหนอง.
  47. กระชอม : (โบ) ว. มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี. (ม. คําหลวง มหาพน).
  48. กระชาย : น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ในวงศ์ Zingiberaceae สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีลําต้นอยู่ใต้ดิน เป็นหัวกลม ๆ มีรากสะสมอาหาร ซึ่งเรียวยาว อวบน้ำ ออกเป็น กระจุก ใช้เป็นผักและเป็นเครื่องปรุงประกอบอาหาร, พายัพเรียก กะแอน หรือ ละแอน.
  49. กระต่ายจาม : น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Centipeda minima (L.) A. Br. et Aschers ในวงศ์ Compositae ขึ้นตามพื้นที่ลุ่มต่ำ แฉะ ต้นเตี้ยติดดินคล้าย ต้นผักเบี้ย ใบเล็กเว้าข้างทั้ง ๒ ด้าน ปลายใบแหลมคล้ายสามง่าม ใบมีกลิ่นเหม็น ใช้ทํายาได้ แต่เป็นพิษต่อปศุสัตว์, กระต่ายจันทร์ สาบแร้ง หญ้ากระจาม หญ้าจาม หรือ เหมือดโลด ก็เรียก. (๒) ดู การบูรป่า.
  50. กระทืบยอบ : น. ชื่อไม้ล้มลุก ๓ ชนิด คือ Biophytum adiantoides Wight ex Edgew. et Hook.f., B.petersianum Klotzsch และ B. sensitivum (L.) DC. ในวงศ์ Oxalidaceae ต้นเล็ก ๆ ใบคล้ายใบผักกระเฉด เมื่อถูกกระเทือนหุบได้ ดอกสีเหลือง, กระทืบยอด ก็เรียก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-189

(0.0899 sec)