Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พันธุศาสตร์, ศาสตร์, พันธุ , then พนธ, พนธศาสตร, พนฺธุ, พันธุ, พันธุศาสตร์, ศาสตร, ศาสตร์ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : พันธุศาสตร์, 38 found, display 1-38
  1. ศาสตร, ศาสตร์ : [สาดตฺระ, สาดสะตฺระ, สาด] น. ระบบวิชาความรู้, มักใช้ ประกอบหลังคําอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษยศาสตร์. (ส.).
  2. พันธุ, พันธุ : น. พวกพ้อง, เชื้อสาย, วงศ์วาน; เทือกเถา, เหล่ากอ; เชื้อ เช่น ข้าว เก็บไว้ทำพันธุพันธุ์ข้าว. (ป., ส.).
  3. หวี่ : น. ชื่อแมลงขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Drosophilidae ตัวยาว ๓-๔ มิลลิเมตร มักมีสีนํ้าตาลอมแดง ตาสีแดง มีปีกใสคู่เดียว มักตอมผลไม้ หรือผักเน่าเปื่อย ที่พบมากที่สุดเป็นชนิด Drosophila melanogaster นิยมใช้เป็นสัตว์ทดลองในการศึกษาทางพันธุศาสตร์ของสัตว์. ว. มีเสียงอย่างเสียงแมลงหวี่กระพือปีก.
  4. ญาณศาสตร์ : [ยานะสาด, ยานนะสาด] น. ตําราพยากรณ์. (ป. ?าณ + ส. ศาสฺตฺร).
  5. คชศาสตร์ : น. วิชาว่าด้วยช้าง มี ๒ ประเภท คือ คชลักษณ์ และ คชกรรม.
  6. คนธรรพศาสตร์ : [คนทับพะ-] น. วิชาดนตรีและขับร้อง. (ส. คนฺธรฺวเวท ว่า วิชาดนตรี).
  7. ฉันทศาสตร์ : [ฉันทะสาด] น. ตำราว่าด้วยการแต่งฉันท์ทั้งที่เป็นมาตราพฤติ และวรรณพฤติ เป็นศิลปศาสตร์อย่างหนึ่งในศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ. (ส.).
  8. ฉุปศาสตร์ : [ฉุปะสาด] น. วิชาว่าด้วยการสงคราม. (ส.).
  9. นฤตยศาสตร์ : น. วิทยาหรือศิลปะแห่งการระบํา. (ส.).
  10. นามานุศาสตร์ : ดู นาม, นาม.
  11. นามานุศาสตร์ : น. อภิธานคําชื่อ. (ส.).
  12. นีติศาสตร์ : (แบบ) น. วิชากฎหมาย. (ส.).
  13. ภรตศาสตร์ : [พะรดตะ–] น. วิชาฟ้อนรําทําเพลง.
  14. ราชศาสตร์ : (โบ) น. กฎหมายที่พระเจ้าแผ่นดินบัญญัติตามหลัก ธรรมศาสตร์.
  15. ศัสตรศาสตร์ : น. วิชาใช้อาวุธ, วิชาทหาร.
  16. ศาสนศาสตร์ : น. วิชาว่าด้วยศาสนาต่าง ๆ.
  17. หัตถศาสตร์ : น. วิชาเกี่ยวกับการทำนายจากเส้นลายมือ.
  18. อลังการศาสตร์ : น. วิชาว่าด้วยวิธีการประพันธ์ที่จะทำให้เกิดอรรถรส และความประทับใจ อำนวยประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีมาก.
  19. อักษรศาสตร์ : [อักสอระสาด, อักสอนสาด] น. วิชาการหนังสือ เน้น ในด้านภาษาและวรรณคดี.
  20. ศาสตราจารย์ : ดู ศาสตร, ศาสตร์.
  21. สมาส : [สะหฺมาด] น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียว ตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. (ป., ส.).
  22. ตัตว- : [ตัดตะวะ-] (แบบ) น. ความเป็นอย่างนั้น, ความเป็นจริง. (ส. ตตฺตฺว). ตัตวศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยความจริง. (ส. ตตฺตฺว + ศาสฺตฺร).
  23. คณ-, คณะ : [คะนะ-] น. หมู่, พวก, (ซึ่งแยกมาจากส่วนใหญ่); กลุ่มคนผู้ร่วมกันเพื่อ การอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คณะกรรมการ คณะสงฆ์ คณะนักท่องเที่ยว; หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่า ซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะ อักษรศาสตร์; กลุ่มคำที่จัดให้มีลักษณะเป็นไปตามแบบรูปของร้อยกรอง แต่ละประเภท ประกอบด้วยบท บาท วรรค และคำ ตามจำนวนที่กำหนด, หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแต่งฉันท์วรรณพฤติ มี ๘ คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ ภ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะแต่ละคณะมี ๓ คำ หรือ ๓ พยางค์ โดยถือครุและลหุเป็นหลัก. (ป., ส.).
  24. ชมรม : น. ที่พักชั่วคราวของกลุ่มบุคคล; ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มี จุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชมรม นักวรรณศิลป์ ชมรมพุทธศาสตร์, โชมโรม ก็ว่า.
  25. โชมโรม : น. ที่พักชั่วคราวของกลุ่มบุคคล; ที่ประชุมของกลุ่มบุคคล ที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น โชมโรมนักวรรณศิลป์ โชมโรมพุทธศาสตร์; ชมรม ก็ว่า.
  26. มดี : [มะ-] คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นนามในคําที่มาจากบาลีและสันสกฤตเฉพาะที่มีสระ อิ อุ อยู่ท้าย หมายความว่า มี เช่น สิริมดี พันธุมดี, ตามหลักไวยากรณ์ เป็นเพศหญิง. (ป., ส. มตี).
  27. มุมบ่ายเบน : (แม่เหล็ก) น. มุมระหว่างแนวเมริเดียนแม่เหล็กโลกกับ แนวเมริเดียนภูมิศาสตร์, มุมเห ก็เรียก.
  28. โมเมนต์ : น. เรียกอาการที่วัตถุหมุนรอบจุดหนึ่งที่ตรึงอยู่กับที่ว่าเกิดโมเมนต์ขึ้นที่วัตถุนั้น, ทางวิทยาศาสตร์กําหนดว่า โมเมนต์ของแรงใดแรงหนึ่งรอบจุดใดจุดหนึ่งซึ่งตรึง อยู่กับที่ ก็คือผลคูณระหว่างแรงนั้นกับระยะทางที่ลากจากจุดนั้นไปตั้งฉาก กับแนวทิศของแรงนั้น. (อ. moment).
  29. ลูกบิด : น. อุปกรณ์สําหรับจับบิดเพื่อปิด เปิดประตูหน้าต่าง เดิม ทําเป็นลูกกลม ๆ; อุปกรณ์เครื่องแก้ววิทยาศาสตร์สําหรับปิดเปิด ให้ของเหลวเป็นต้นหยุดผ่านหรือไหลผ่าน; อุปกรณ์สําหรับบิดเร่ง หรือลดสายเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีดหรือเครื่องสีให้ตึงหรือ หย่อน มักทําด้วยไม้หรืองา.
  30. เศรษฐศาสตร์ : [เสดถะสาด] น. วิชาว่าด้วยการผลิต การจําหน่าย จ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ของชุมชนมี ๒ สาขา คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ภาคที่ศึกษาปัญหา เศรษฐกิจส่วนเอกชน หรือ ปัญหาการหาตลาดเป็นต้น และ เศรษฐศาสตร์มหัพภาค ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ภาคที่ศึกษาปัญหา เศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวม เช่น ปัญหาเรื่องรายได้ของ ประชาชาติ การออมทรัพย์ของประชากร ปัญหาการลงทุน.
  31. สังคมศาสตร์ : [สังคมมะ, สังคม] น. ศาสตร์ว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับ สังคม มีหมวดใหญ่ ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับสังคม) มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยาสังคม.
  32. หมอขวัญ : น. ผู้รู้พิธีทําขวัญ, หมอทำขวัญ ก็เรียก; ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์ และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอเฒ่า ก็เรียก.
  33. หมอเฒ่า : น. ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอขวัญ ก็เรียก.
  34. กรรมพันธุ : [กำมะพัน] ว. มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ คือ เกี่ยวเนื่องด้วย กรรมของตนเอง. น. ลักษณะ นิสัย ตลอดจนโรคหรือความวิกล วิการบางอย่างที่ลูกหลานสืบมาจากบรรพบุรุษ ปู่ย่าตายาย หรือ พ่อแม่, พันธุกรรม ก็ว่า. (ส. กรฺม + พนฺธุ; ป. กมฺมพนฺธุ = ''มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์'' เกี่ยวเนื่องด้วยกรรมของตนเอง).
  35. เกษตรศาสตร์ : [กะเสดตฺระสาด] น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. (ส. เกฺษตฺร + ศาสฺตฺร = วิชา).
  36. คณิตศาสตร์ : [คะนิดตะสาด] น. วิชาว่าด้วยการคํานวณ. (ส. คณิต + ศาสฺตฺร).
  37. สัตถ ๑ : [สัดถะ] (แบบ) น. คัมภีร์, ตํารา. (ป.; ส. ศาสฺตฺร).
  38. อุทกศาสตร์ : น. วิชาว่าด้วยนํ้าบนพื้นโลกเกี่ยวกับการวัดหรือการ สํารวจแผนที่ทะเล โดยมีความมุ่งหมายเฉพาะเพื่อการเดินเรือ. (ป., ส. อุทก + ส. ศาสฺตฺร).
  39. [1-38]

(0.1044 sec)