Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 39 found, display 1-39
  1. : พยัญชนะตัวที่ ๓๒ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มา จากาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปราร ลา.
  2. รัสดาษ : [พฺรัดสะดาด] (โบ) น. รรดา, ผัว.
  3. พิมพารณ์ : น. เครื่องประดับร่างกาย ในคําว่า ถนิมพิมพารณ์. (ป. พิมฺพ + อารณ).
  4. รัตนารณ์ : น. เหรียญบำเหน็จส่วนพระองค์ที่สร้างขึ้นสำหรับพระราชทาน แก่ผู้จงรักักดีและทรงคุ้นเคยรู้จัก เพื่อเป็นเครื่องหมายในพระมหากรุณาธิคุณ มี ๕ ชั้น, เดิมเรียกว่า รจนารณ์.
  5. ดิเรกคุณารณ์ : น. ชื่อเครื่องราชอิสริยารณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาูมิพลอดุลยเดช.
  6. ถนิมพิมพารณ์ : น. เครื่องประดับร่างกาย.
  7. พิมพารณ์ : ดู พิมพ, พิมพ์.
  8. ราดร, ราดา, ราตร–, ราตฤ– : [พะราดอน, พะราดา, พะราตฺระ–, พะราตฺรึ–] น. พี่ชาย, น้องชาย. (ส. ฺราตฺฤ; ป.าตา, าตุ).
  9. ราดราพ, ราตราพ, ราตฤาพ : [พะราดะระพาบ, พะราดอนระพาบ, –ตฺระ–, –ตฺรึ–] น. ความเป็นฉันพี่น้องกัน.
  10. ู่ : น. ชื่อแมลงหลายชนิดซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายผึ้ง ต่างกันที่ขนปกคลุม ลําตัวมีลักษณะเป็นแฉก ไม่เป็นขนเดี่ยว ๆ อวัยวะของปากคู่หนึ่งยื่นยาว ออกมาคล้ายหนวด ขาหลังตรงบริเวณส้นเท้ามีหนามแหลมข้างละ ๑ อัน ไม่มีถุงเก็บเกสรเหมือนผึ้ง มักอาศัยอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือรวม ๒–๓ คู่ แต่ไม่เป็นกลุ่มใหญ่เหมือนผึ้งที่พบบ่อยอยู่ในสกุล Xylocopa วงศ์ Xylocopidae เช่น ชนิด X. latipes และ ชนิด X. caeruleus, แมลงู่ ก็เรียก.
  11. รัตนวรารณ์ : น. ชื่อตราเครื่องราชอิสริยารณ์ที่จะพระราชทานได้ ทั่วไปทุกชั้นบุคคลตามพระราชประสงค์ ไม่เกี่ยวด้วยยศหรือบรรดาศักดิ์.
  12. รัตนารณ์ : ดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ.
  13. วัตถารณ์, วัตถาลังการ : ดู วัตถ์.
  14. ศิรารณ์ : (ราชา) น. เครื่องประดับศีรษะ เช่น พระมาลา มงกุฎ กรอบหน้า ผ้าโพกหัว.
  15. ศิรารณ์ : ดู ศิร, ศิระ.
  16. กบ ๑ : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว บ ป พ ฟ สะกด ว่า แม่กบ หรือ มาตรากบ.
  17. คณ-, คณะ : [คะนะ-] น. หมู่, พวก, (ซึ่งแยกมาจากส่วนใหญ่); กลุ่มคนผู้ร่วมกันเพื่อ การอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คณะกรรมการ คณะสงฆ์ คณะนักท่องเที่ยว; หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่า ซึ่งรวมาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะ อักษรศาสตร์; กลุ่มคำที่จัดให้มีลักษณะเป็นไปตามแบบรูปของร้อยกรอง แต่ละประเท ประกอบด้วยบท บาท วรรค และคำ ตามจำนวนที่กำหนด, หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแต่งฉันท์วรรณพฤติ มี ๘ คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะแต่ละคณะมี ๓ คำ หรือ ๓ พยางค์ โดยถือครุและลหุเป็นหลัก. (ป., ส.).
  18. ทุตวิลัมพิตมาลา : [ทุตะวิลำพิตะ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกิปราย.
  19. โทธก : [-ทก] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ เป็น คณะล้วน (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ าคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละ ทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศิปราย. (ชุมนุมตํารากลอน).
  20. ธาตุมมิสสา : [ทาตุมมิดสา] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ คือ ม ต คณะ กับลงท้ายเป็นครุอีก ๒ พยางค์ (ตามแบบว่า ธาตุมฺมิสฺสา ยติ สา มฺา ตคา โค) ตัวอย่างว่า จักสําแดงมิตร สุจริตจิตนามขนาน บัญญัติคือสมาน สุขทุข เสมอประดุจกัน. (ชุมนุมตํารากลอน).
  21. มาตรา : [มาดตฺรา] น. หลักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก; แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระ โดยไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หลักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกด อยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะกด จัดอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง สะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ สะกด จัดอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม สะกด จัดอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย สะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โดยมีเลขกํากับเรียงตามลําดับ; (ฉันทลักษณ์) ระยะเวลาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา.
  22. อักษรต่ำ : [อักสอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี เช่น คา ค่า ค้า คําตายสระสั้น พื้น เสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ คําตายสระยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คาก ค้าก ค๋าก มี ๒๔ ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ม ย ร ล ว ฬ ฮ.
  23. โอษฐชะ : (ไว) น. อักษรในาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจาก ริมฝีปาก ได้แก่พยัญชนะวรรค ป คือ ป ผ พ ม และอักษร ว กับ สระอุ อู. (ป. โอฏฺ?ช; ส. โอษฺ?ฺย).
  24. กระดก ๒ : (โบ; กลอน) ก. ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลวว แก่มรณยานตราย. (ม. คําหลวง ชูชก).
  25. กลม : [กะลมพะ] (กลอน) ว. หลายอย่างรวมกัน เช่น จําหลักจําหลอกกลม- บังอวจจําหลักกราย. (สมุทรโฆษ). (ทมิฬ กลมฺป).
  26. กุมาพันธ์ : น. ชื่อเดือนที่ ๒ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มต้นด้วยเดือนมกราคม มี ๒๘ หรือ ๒๙ วัน, (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๑๑ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วย เดือนเมษายน. (ป. กุมฺ = หม้อ + อาพนฺธ = ผูก = เดือนที่อาทิตย์ มาสู่ราศีกุม์).
  27. โกไสย : [-ไส] น. ผ้าทําด้วยไหม เช่น โกไสยวัตถารณ์. (ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์). (ป. โกเสยฺย).
  28. แครง ๔ : [แคฺรง] ว. ตกแต่ง เช่น ธก็ผลัดแผลงแครงเครื่องอันบริสุทธิ์. (ม. คําหลวง วนปเวสน์). ว. งามพรายแพรว, หมดจด, ผ่องใส, เช่น ธก็ทรงพสตรพาสแครง ดุจแสงสังข์ใสสุทธ. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์), อนนธกทําด้วยไหมประไพแครงเครื่องฟ้า. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์), พายคํ่าจํารัสแครง ใสส่อง. (ทวาทศมาส). น. ผ้า เช่น นางก็ทรงพัสตรารณ์ พาดแครง. (ม. คําหลวง นครกัณฑ์). (เทียบ อีสาน แครง ว่า ผ้า, ผ้าพันคอชนิดผืนยาว).
  29. จำหลอก : [-หฺลอก] (กลอน) ก. ถลอก, ลอก, ไสหรือแซะให้ลึกเป็นร่อง, ทำให้เป็น ลวดลาย, เช่น จําหลักจําหลอกกลม บังอวจจําหลักราย. (สมุทรโฆษ).
  30. ดารา : น. ดาว, ดวงดาว; เรียกบุคคลที่แสดงนําหรือมีชื่อเสียงในศิลปะการแสดงใน ทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาราาพยนตร์; เครื่องประกอบราชอิสริยารณ์ตั้งแต่ ชั้นทวีติยารณ์ขึ้นไป มีลักษณะเป็นดาวรัศมี ๘ แฉกบ้าง ๑๖ แฉกบ้าง, ถ้าเป็นดาราจักรี ก็ทําเป็นรูปจักร ๑๐ กลีบ. (ป., ส. ตารา).
  31. ถนิม : [ถะหฺนิม] น. เครื่องประดับ เช่น ถนิมพิมพารณ์, ในโลกนี้ถนิมเจ้า เอกแท้นางเดียว. (นิทราชาคริต), ธารถนิมทองถ่องเถือก. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์), ใช้ว่า สนิม ก็มี เช่น สร้อยสนิมพิมพารณ์.
  32. รรดร, รรดา : [พันดอน, พันดา] น. ผัว เช่น ปัญหามีแต่จักหา รรดาสมศักดิ์สมศรี หาได้ใช่ง่ายชายดี สมกับเทวีลูกเรา. (กนกนคร), ใช้ว่า ัสดา ก็ได้, โบราณใช้ว่า รัสดาษ ก็มี. (ส. รฺตฺฤ; ป. ตฺตา).
  33. วัคระ : [พะวักคฺระ] น. พรหมชั้นสูง, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็เรียก. (ส. วาคฺร; ป. วคฺค).
  34. วันดร : [พะวันดอน] น. พอื่น, ายหน้า. (ป.; ส. วานฺตร).
  35. วา : น. ความเป็นอยู่และมิใช่ความเป็นอยู่, พและมิใช่พ; พน้อย พใหญ่. (ป., ส. วาว).
  36. สนิม ๒ : [สะหฺนิม] น. ถนิม, เครื่องประดับ ในคำว่า สนิมพิมพารณ์. (ข. ธฺนิม).
  37. หัวออก : น. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนออกนอกเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว พ ตัว , ตรงข้ามกับ หัวเข้า.
  38. อารณ์ : [พอน] น. เครื่องประดับ, บางทีก็ใช้เป็นส่วนท้ายของคําสมาส เช่น พัสตรารณ์ = เครื่องประดับคือเสื้อผ้า สิรารณ์ = เครื่อง ประดับศีรษะ คชารณ์ = เครื่องประดับช้าง พิมพารณ์ = เครื่อง ประดับร่างกาย ในคําว่า ถนิมพิมพารณ์ ธรรมารณ์ = มีธรรมะ เป็นเครื่องประดับ. (ป., ส.).
  39. โอฆ, โอฆะ : [โอคะ] น. ห้วงนํ้า; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับ จิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. โวฆะ = โอฆะ คือ พ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (ป., ส.).
  40. [1-39]

(0.0165 sec)