Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รติ , then รต, รติ .

Royal Institute Thai-Thai Dict : รติ, 26 found, display 1-26
  1. รติ : น. ความยินดี, ความชอบใจ; ความรัก, ความกําหนัด, แผลงใช้ว่า ฤดี หรือ รดี ก็ได้. (ป., ส.).
  2. อารดี, อารติ : [อาระดี, ติ] น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารัติ ก็ว่า. (ป. อารติ).
  3. ตรีมูรติ : ว. มีรูป ๓ คือ รูปพระพรหม รูปพระวิษณุ รูปพระศิวะ. น. ชื่อเรียกเทพเจ้า ในศาสนาพราหมณ์ มี ๓ องค์ คือ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ (พระผู้รักษา) และพระศิวะหรือพระอิศวร (พระผู้ทําลาย). (ส. ตฺริมูรฺติ).
  4. มูรดี, มูรติ : [มูระ-] น. ร่างกาย, รูป. (ส. มูรฺติ).
  5. อภิรดี, อภิรติ : [อะพิระ] น. ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง (มักใช้ในเรื่องรักใคร่). (ป., ส.).
  6. นิมมานรดี : [นิมมานะระดี, นิมมานอระดี] น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี, มีท้าวสุนิมมิตเป็นผู้ครอง, ในบทกลอนใช้ว่า นิมมานรดีต ก็มี เช่น ช่อชั้นนิมมานรดีต. (อิเหนา). (ป.; ส. นิรฺมาณ + รติ).
  7. รดี : น. รติ.
  8. ฤดี : [รึ] น. รติ, ความยินดี, ใจ. (ป., ส. รติ).
  9. ขษณะ : [ขะสะหฺนะ] (โบ) น. ครู่, ครั้ง, คราว, เช่น ขษณะอัฒรติเวลา. (สมุทรโฆษ). (ส. กฺษณ; ป. ขณ).
  10. ปฏิ- : คําอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นําหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. (ป.; ส. ปฺรติ).
  11. ปฏิทิน : น. แบบสําหรับดูวัน เดือน ปี. (ป.; ส. ปฺรติทิน ว่า เฉพาะวัน, สําหรับวัน).
  12. ปฏิพัทธ์ : ก. เนื่องกัน, ผูกพัน, รักใคร่. (ป. ปฏิพทฺธ; ส. ปฺรติพทฺธ).
  13. ปฏิภาค, ปฏิภาค- : [ปะติพาก, ปะติพากคะ-] น. ส่วนเปรียบ. ว. เทียบเคียง, เหมือน. (ป. ปฏิภาค; ส. ปฺรติภาค).
  14. ประดิชญา : [ปฺระดิดยา, ปฺระดิดชะยา] (แบบ) น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺ?า).
  15. ประดิษฐ-, ประดิษฐ์ : [ปฺระดิดถะ-, ปฺระดิด] ก. ตั้งขึ้น, จัดทําขึ้น, คิดทําขึ้น, สร้างขึ้น, แต่งขึ้น. ว. ที่จัดทําขึ้นให้เหมือนของจริง เช่น ดอกไม้ประดิษฐ์, ที่คิดทำขึ้นไม่เหมือนธรรมชาติ เช่น ลายประดิษฐ์. (ส. ปฺรติษฺ?; ป. ปติฏฺ?).
  16. ประดิษฐาน : [ปฺระดิดสะถาน] ก. ตั้งไว้ (ใช้แก่สิ่งที่เคารพนับถือ) เช่น นําพระพุทธรูป ไปประดิษฐานไว้ในโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา, แต่งตั้งไว้ใน ตําแหน่งสูง เช่น ประดิษฐานไว้ในตําแหน่งอัครมเหสี. (ส. ปฺรติษฺ?าน; ป. ปติฏฺ?าน).
  17. ประติชญา : [ปฺระติดชะยา] น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺ?า; ป. ปฏิญฺ?า).
  18. ประติญาณ : น. ปฏิญาณ. (ส. ปฺรติชฺ?าน).
  19. ประติทิน : น. ปฏิทิน. (ส. ปฺรติ + ทิน; ป. ปฏิ + ทิน).
  20. ประติมากรรม : [ปฺระติมากํา] น. ศิลปะสาขาหนึ่งในจําพวกวิจิตรศิลป์เกี่ยวกับการ แกะสลักไม้ หินอ่อน โลหะ เป็นต้น ให้เป็นรูปหรือลวดลายต่าง ๆ. (ส. ปฺรติมา + กรฺม; ป. ปฏิมา + กมฺม).
  21. มัชวิรัติ : น. การงดเว้นของมึนเมา. (ป. มชฺชวิรติ).
  22. วิปฏิสาร, วิประติสาร : [วิบปะติสาน, วิปฺระ] น. ความเดือดร้อน, ความร้อนใจ, (ภายหลังที่ได้กระทําผิด หรือเนื่องด้วยการกระทําผิด). (ป. วิปฺปฏิสาร; ส. วิปฺรติสาร).
  23. ไวษณพ : [ไวสะนบ] น. ชื่อนิกายหนึ่งในศาสนาฮินดู นับถือพระวิษณุหรือ พระนารายณ์ว่าเป็นใหญ่กว่าเทพใด ๆ ในกลุ่มตรีมูรติ.(ส. ไวษฺณว).
  24. อารัติ : [รัด] น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารดี หรือ อารติ ก็ว่า. (ป., ส. อารติ).
  25. รตะ : [ระตะ] น. ความสุข, ความสนุก. ก. ยินดี, ชอบใจ, สนุก. (ป., ส. รต ว่า ผู้ยินดี).
  26. รัต ๑ : ก. ยินดี, ชอบใจ, มักใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น วันรัต = ผู้ยินดีในป่า. (ป., ส. รต).
  27. [1-26]

(0.0592 sec)