Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ล้า , then ลา, ล้า .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ล้า, 210 found, display 1-50
  1. ล้า : ว. หย่อนแรงหรือกำลัง เช่น เดินขึ้นเขามาก ๆ เข่าล้า ยกของมาก จนแขนล้า สมองล้า, ย่อหย่อน เช่น จิตใจล้า.
  2. ล้า : ว. ช้าไม่ทันคนหรือไม่ทันเหตุการณ์เป็นต้น เช่น วัฒนธรรมล้า สังคมล้า.
  3. ล้าเต้ : ว. ช้าเป็นที่ลำดับสุดท้าย เช่น เขาเข้าเส้นชัยกันหมดแล้ว ยังล้าเต้อยู่.
  4. ล้าสมัย : ว. ไม่ทันหรือไม่เป็นไปตามสมัยที่กําลังนิยมกัน เช่น เขาเป็นคนล้าสมัย.
  5. ล้าหลัง : ว. ช้าอยู่ข้างหลังเขา เช่น เดินล้าหลัง, ไม่ก้าวหน้า เช่น ความคิดล้าหลัง.
  6. เลื่อยล้า : ว. เมื่อยล้า, เหนื่อยอ่อน, บอบชํ้า, ในบทกลอนใช้ว่า เมลื่อยมล้า ก็มี.
  7. เมื่อยล้า : ก. อาการที่เมื่อยมากทำให้เดินเคลื่อนไหวได้ช้าลง.
  8. ลางาด, ล้างาด : น. เย็น, เวลาเย็น, ละงาด ก็ใช้.
  9. ล่าเตียง, ล้าเตียง : น. ชื่ออาหารว่างอย่างหนึ่งใช้ไข่โรยเป็นร่างแห ห่อไส้ซึ่งทำด้วยกุ้ง ผัดกับเครื่องปรุง ให้มีขนาดพอดีคำ.
  10. ล้า : [มะล้า] ว. ล้า.
  11. ลา ๒ : น. เรียกการจบหรือสิ้นสุดลงระยะหนึ่ง ๆ ของพิธีบางอย่างว่า ลาหนึ่ง ๆ เช่น โห่ ๓ ลา ยํ่าฆ้อง ๓ ลา.
  12. กบฏ : [กะบด] ก. ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ทรยศ. น. การ ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ความทรยศ; ผู้ประทุษร้าย ต่อทางอาณาจักร, ผู้ทรยศ, ขบถ ก็ว่า; (กฎ) ชื่อความผิด อาญาฐานกระทําความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายใน ราชอาณาจักร โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้ กําลังประทุษร้ายเพื่อล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร หรืออํานาจ ตุลาการ หรือแบ่งแยกราชอาณาจักร หรือยึดอํานาจ ปกครองในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏ. (ส. กปฏ ว่า ความคด, ความโกง).
  13. กระหนาบคาบเกี่ยว : ว. ประชิดเหลื่อมล้ากัน.
  14. กรึ๊บ : [กฺรึ๊บ] ว. เสียงเกิดจากการกลืนของเหลวเช่นเหล้าอย่างรวดเร็ว, ลักษณนามเรียกการดื่มเหล้าอึกหนึ่ง ๆ ด้วยอาการอย่างนั้น เช่น ดื่มเหล้ากรึ๊บหนึ่ง ดื่มเหล้า ๒ กรึ๊บ. (ปาก) ก. ดื่ม (มักใช้แก่เหล้า).
  15. ล้า : [กฺล้า] น. ต้นข้าวที่เพาะไว้สําหรับย้ายไปปลูกที่อื่น, โดยอนุโลมเรียกพืชที่เพาะไว้สําหรับย้ายไปปลูกในที่อื่นว่า กล้า เช่น กล้าพริก กล้ามะเขือ.
  16. ล้า : [กฺล้า] ก. ไม่กลัว, ไม่ครั่นคร้าม. ว. แข็ง เช่น เหล็กกล้า, แรง เช่น เวทนากล้า.
  17. ล้า : [กฺล้าม] น. เนื้อมะพร้าวห้าว; มัดเนื้อที่รวมกันเป็นก้อน ๆ ในกายคนและสัตว์ เรียกว่า กล้ามเนื้อ.
  18. ก้าวก่าย : ก. ล่วงล้ำเข้าไปยุ่งเกี่ยวหน้าที่ผู้อื่น, เหลื่อมล้าไม่เป็นระเบียบ เช่น งานก้าวก่ายกัน.
  19. กินทาง : ว. ล้าทาง (ใช้แก่ยวดยาน) เช่น ขับรถกินทาง.
  20. เกล้า : [เกฺล้า] น. หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่างสูง) เช่น มารดาบังเกิดเกล้า. ก. มุ่นผมให้เรียบร้อย เช่น เกล้าจุก เกล้ามวย.
  21. โกสีย์ : น. พระอินทร์ เช่น ล้าเลอศกรุงโกสีย์ หยาดหล้า. (ทวาทศมาส). (ป. โกสิย).
  22. ไก่นา : น. ชื่อนกคุ่มสีชนิด Coturnix chinensis และนกหลายชนิด ในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก (Amaurornis phoenicurus) อีล้า (Gallinula chloropus) อีโก้ง (Porphyrio porphyrio). (ปาก) ว. โง่, เซ่อ.
  23. ล้า : [คฺล้า] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Schumannianthus dichotomus (Roxb.) Gagnep. ในวงศ์ Marantaceae ต้นสูง ๑-๒ เมตร แตกแขนงตามลําต้น ใบกว้าง.
  24. เคล้า : [เคฺล้า] ก. ใช้มือเป็นต้นคนเบา ๆ ให้ทั่ว เช่น เคล้าเครื่องปรุงให้เข้ากัน ในการทำอาหาร; คลอเคลีย เช่น เคล้าแข้งเคล้าขา, เกลือก เช่น แมลงภู่ เคล้าเกสรดอกไม้.
  25. จิ : (แบบ) ก. จะ เช่น จิปากทั้งลิ้นล้า เพื่อเจ้าเจียรจันทร์. (ทวาทศมาส).
  26. ฉลับ : [ฉะหฺลับ] (กลอน) ก. สลับ เช่น แล่นลล้าวฉลับพล. (สมุทรโฆษ).
  27. ชระบอบ : [ชฺระ] (กลอน) ก. บอบชํ้า, เมื่อยล้า.
  28. ตรีสุรผล : น. ยามีผลกล้า ๓ อย่าง คือ สมุลแว้ง เนื้อไม้ เทพทาโร.
  29. ทกล้า, ทแกล้ว : [ทะกฺล้า, ทะแกฺล้ว] น. ผู้กล้า, ทหาร.
  30. บ๊วย ๒ : (ปาก) ว. ที่สุดท้าย, ล้าหลังที่สุด. (จ.).
  31. บังอาจ : ก. กล้าแสดงกล้าทําด้วยทะนงใจหรือฮึกเหิม โดยไม่ยําเกรงหรือไม่ รู้จักสูงตํ่า, กล้าละเมิดกฎหมาย.
  32. เปล้า : [เปฺล้า] น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Croton วงศ์ Euphorbiaceae เช่น เปล้าใหญ่ (C. oblongifolius Roxb.) เป็นไม้ต้น, เปล้าน้อย (C. joufra Roxb. และ C. sublyratus Kurz) เป็นไม้พุ่ม ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ทั้ง ๓ ชนิดใบใช้ทํายาได้.
  33. เปล้า : [เปฺล้า] น. ชื่อนกในวงศ์ Columbidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกเขา และนกพิราบ ลําตัวสีเขียวเห็นได้ชัด แต่ละชนิดแตกต่างกันตรงสี ที่หน้าอกและไหล่ซึ่งอาจมีสีม่วงหรือนํ้าตาล กินผลไม้ หากินเป็นฝูง มีหลายชนิด เช่น ชนิด Treron curvirostra ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไป เปล้าขาเหลือง (T. phoenicoptera) เปล้าคอสีม่วง (T. vernans) เปล้าใหญ่ปักษ์ใต้ (T. capellei), เขาเปล้า ก็เรียก, พายัพเรียก เป้า.
  34. เพลีย : ก. อ่อนแรง, ถอยกําลัง, มีอาการเมื่อยล้า เช่น เดินจนเพลีย ทำงาน มาก ๆ รู้สึกเพลีย.
  35. มะม่าว : (กลอน) ก. เมื่อยล้า, อ่อนเพลีย. ว. เผือด, เศร้า.
  36. เมลื่อยมล้า : ว. เมื่อยล้า.
  37. ละงาด : น. เย็น, เวลาเย็น, ใช้ว่า ลางาด ล้างาด หรือ ลํางาด ก็มี. (ข. ลงาจ).
  38. ลา ๓ : ก. จากไปโดยแสดงให้ทราบด้วยกิริยาท่าทาง คําพูด หรือด้วย หนังสือ; ขออนุญาตหยุดงานชั่วคราว เช่น ลากิจ ลาป่วย ลาพักผ่อน ลาไปศึกษาต่อ; ขอคืนของที่บูชาหรือบนไว้ เช่น ลาข้าวพระภูมิ ลาของที่บนไว้.
  39. ลา ๔ : ว. เตี้ย เช่น เกยลา กี๋ลา เตียงลา แท่นลา.
  40. ลา ๕ : ว. มีกลีบชั้นเดียว, ไม่ซ้อน, (ใช้แก่ดอกไม้) เช่น มะลิลา พุดลา รักลา.
  41. ลำงาด : น. เย็น, เวลาเย็น, ใช้ว่า ละงาด ลางาด หรือ ล้างาด ก็มี. (ข. ลงาจ).
  42. หัวโบราณ : ว. นิยมตามแบบเก่าแก่, (ปาก) ครึมาก, ล้าสมัย.
  43. ลา ๑ : น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus asinus ในวงศ์ Equidae ซึ่ง เป็นวงศ์เดียวกับม้า รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหาง เป็นพู่ ขนแผงคอสั้นตั้งตรง มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา.
  44. ร่ำลา : ก. อำลา, ลา, ล่ำลา ก็ว่า.
  45. ลาบวช : ก. นำดอกไม้ธูปเทียนไปขอขมาผู้ใหญ่ที่นับถือเพื่อลา ไปบวช.
  46. ลาสิกขา : ก. ลาสึก, ลาจากเพศสมณะ.
  47. ลาออก : ก. ขออนุญาตให้พ้นจากสภาพที่ดำรงอยู่ เช่น ลาออกจาก การเป็นกรรมการ นักเรียนลาออกจากโรงเรียน.
  48. ลาข้าวพระ : ก. ทําพิธีอย่างหนึ่งเมื่อถอนสํารับพระพุทธ โดยยกมือ ประนมกล่าวคําว่า เสสํ มงฺคลํ ยาจามิ แล้วยกสํารับออกมา.
  49. ลาพรรษา : (ปาก) ก. ออกพรรษา.
  50. ลาลด : ก. ลาลส.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-210

(0.0510 sec)