Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 65 found, display 1-50
  1. : พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน อย่างตัว น ในคําที่มาจากภาษาบาีแะสันสกฤตเป็นต้น เช่น กา พา ฟุตบอ.
  2. กาธิบดี : [–ทิบอดี, –ทิบบอดี] น. ผู้เป็นใหญ่ในโก. (ป. โกาธิปติ).
  3. คุฑ, คุฬ : [ะคุด, ะคุน] น. ไม้ตะบอง. (ส. คุฑ; ป. คุฬ).
  4. : พยัญชนะตัวที่ ๔๒ เป็นพวกอักษรตํ่า มักใช้ในคําไทยที่มาจากภาษาบาี เช่น กีฬา จุฬา นาฬิกา, ตัว ฬ นี้ ในภาษาสันสกฤตไม่มีใช้ ในภาษาบาีมีใช้ แต่ที่เป็นตัวตามหัง เช่น จุฬา = มวยผม กีฬา = เ่น เขฬะ = นํ้าาย, ใน ภาษาไทยแต่เดิมมีที่ใช้บ้าง เช่น ฬา (สัตว์) ฬ่อ (สัตว์) บาฬี บัดนี้ใช้เป็น ่อ บาี หมดแ้ว ยังคงอยู่ก็แต่ที่ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน เช่น ทมิฬ ปาวาฬ.
  5. บำโบ, บำโบย, บำโบ : ก. ูบไ้. (อนันตวิภาค).
  6. ปัจจุสกา, ปัจโจสกา : [ปัดจุดสะกาน, ปัดโจสะ-] น. เวาเช้ามืด. (ป.).
  7. ปุิงค์, ปุึงค์ : ดู ปุงิงค์, ปุงึงค์.
  8. ่ะ : ว. คำใช้ประกอบข้อความข้างหน้าเพื่อยืนยันให้มีน้ำหนักขึ้น เช่น มิน่า่ะ จะไปไหม่ะ, เ่า ก็ว่า.
  9. ี่ ๑ : น. ชื่อมดขนาดยาว ๕–๖ มิิเมตร อยู่กันเป็นฝูงตามต้นไม้ ทํารัง ด้วยดินแะวัสดุเศษไม้ตามซอกกิ่งไม้ ักษณะค้ายรังปวก เวาเดินจะยกท้องขึ้นเกือบตั้งฉากกับําตัวค้ายกับมีหางชี้ ที่พบ ได้บ่อยอยู่ในสกุ Crematogaster วงศ์ Formicidae คือ ชนิด C. dohrni หัวแะอกสีส้ม ท้องสีดํา, รี่ หรือ ตูดงอน ก็เรียก.
  10. ี่ ๒ : น. เครื่องดักปาชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่เป็นซี่ ๆ ถักติดกันเป็นผืน สำหรับปัก้อมดักปาที่ทางน้ำไห.
  11. ี่ ๓ : ว. อาการทีู่่เอนไปข้างหัง, ไม่กาง, (ใช้แก่หูของหมาเป็นต้น) เช่น หมาหูี่. ก. แ่น เช่น ขนานี่ ว่า เรือแ่น.
  12. ู่ ๑ : น. ทาง, แนว, ช่อง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทาง เป็น ู่ทาง, ในทางกีฬา หมายถึงทางวิ่งเป็นแนวเป็นช่อง เช่น วิ่งในู่ที่ ๑, คู่กับ าน.
  13. ู่ ๒ : ก. เอนราบเป็นแนวไป ด้วยมีสิ่งอื่นบังคับให้เป็นเช่นนั้น เช่น ต้นสนู่ไปตามม, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ค้ายคึงเช่นนั้น เช่น ผมของเขาพอถูกฝนก็ู่งมาหมด.
  14. : ก. นอนใบมีดแ้วเฉือนเอาออก เช่น แ่เอาแต่เนื้อ ๆ.
  15. ่ ๑ : น. ชื่อแพรชนิดหนึ่งเส้นไหมโปร่ง, ใช้เรียกผ้าบาง ๆ ก็มี เช่น ผ้าป่านโ่.
  16. ่ ๒ : น. เครื่องปิดป้องศัตราวุธ รูปสี่เหี่ยมผืนผ้า ทําด้วยโหะหรือหนังดิบ ด้านหังมีที่จับ, มักใช้คู่กับดาบหรือหอก, โดยปริยายหมายถึงการเอา คนหรือสิ่งอื่นต่างโ่เพื่อกันความเสียหายแก่ตัว; สิ่งที่มีักษณะค้าย คึงโ่สําหรับมอบแก่ผู้ชนะการแข่งขันกีฬาเป็นต้น.
  17. ่ ๑ : ก. ตามไปติด ๆ เพื่อให้ทันหรือเพื่อกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ไ่ยิง ไ่กัด ไ่ขวิด ไ่จิก; ขับ, มักใช้เข้าคู่กันเป็น ไ่ขับ หมายความว่า บังคับให้ออกไปให้พ้น, บังคับให้ไปหรือให้ออก จากที่เดิม เช่น ไ่ควายเข้าคอก ไ่คนออกจากบ้าน; ต้อนให้จนมุม เช่น เอาม้าแะเรือไ่ขุน; สอบดูำดับก่อนหังเพื่อทบทวนความรู้ ความจำเป็นต้น เช่น เรียกนักเรียนมาไ่แบบ.
  18. ่ ๒ : น. ไม้ต่าง ๆ เรียกว่า ไม้ไ่.
  19. ่ ๆ กัน : ก. มีระดับหรือขนาดสูงต่ำเป็นต้นดหั่นกันตามำดับ เช่น มีูกอายุไ่ ๆ กัน สูงต่ำไ่ ๆ กัน รุ่นไ่ ๆ กัน.
  20. เวทั : น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
  21. อาวั : [วัน] (กฎ) น. การรับประกันการใช้เงินตามตั๋วเงิน. (ฝ. aval).
  22. กน ๑ : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ญ ณ น ร ฬ สะกด ว่า แม่กน หรือ มาตรากน.
  23. โฆษะ : ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เป่งออกมาเส้นเสียงสั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ว แะเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาีแะ สันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค แะ ย ร ว ห ฬ. (ส.; ป. โฆส).
  24. มาตรา : [มาดตฺรา] น. หักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวา แะมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก; แม่บทแจกูกพยัญชนะต้นกับสระ โดยไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกด อยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะกด จัดอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง สะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ฬ สะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด จัดอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม สะกด จัดอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย สะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โดยมีเขกํากับเรียงตามําดับ; (ฉันทักษณ์) ระยะเวาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา.
  25. แม่ : น. หญิงผู้ให้กําเนิดหรือเี้ยงดููก, คําทีู่กเรียกหญิงผู้ให้กําเนิดหรือเี้ยงดูตน; คําที่ผู้ใหญ่เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความสนิทสนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า แม่นั่น แม่นี่; คําใช้นําหน้านามเพศหญิง แปว่า ผู้เป็นหัวหน้า เช่น แม่บ้าน; ผู้หญิงที่กระทํากิจการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ค้าขาย เรียกว่า แม่ค้า ทําครัว เรียกว่า แม่ครัว; เรียกสัตว์ตัวเมียที่มีูก เช่น แม่ม้า แม่วัว; เรียกคน ผู้เป็นหัวหน้าหรือเป็นนายโดยไม่จํากัดว่าเป็นชายหรือหญิง เช่น แม่ทัพ แม่กอง; คํายกย่องเทวดาผู้หญิงบางพวก เช่น แม่คงคา แม่ธรณี แม่โพสพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่กาี; เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ; เรียกชิ้นใหญ่กว่าในจําพวกสิ่งที่สําหรับกัน เช่น แม่กุญแจ คู่กับ ูกกุญแจ; แม่นํ้า เช่น แม่ปิง แม่วัง; คําหรือพยางค์ที่มีแต่สระ ไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า แม่กง, คําหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เรียกว่า แม่กด, คําหรือพยางค์ ที่มีตัว ญ ณ น ร ฬ สะกด เรียกว่า แม่กน, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด เรียกว่า แม่กม, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะกด เรียกว่า แม่เกย แต่ในมูบทบรรพกิจมี ย ว อ สะกด, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะกด เรียกว่า แม่เกอว.
  26. เศษวรรค : [เสสะวัก, เสดวัก] น. พยัญชนะที่เหือวรรคหรือที่ เข้าอยู่ในวรรคทั้ง ๕ ไม่ได้ มี ๑๐ ตัว คือ ย ร ว ศ ษ ส ห ฬ ?, อวรรค ก็เรียก.
  27. อักษรต่ำ : [อักสอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี เช่น คา ค่า ค้า คําตายสระสั้น พื้น เสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ คําตายสระยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คาก ค้าก ค๋าก มี ๒๔ ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ว ฬ ฮ.
  28. กรวน : [กฺรวน] (ถิ่น-ภูเก็ต) น. กอยทําเป็นชิ้นเ็ก ๆ. (วิทยาจารย์ . ๑๖ ต. ๒).
  29. กรอกแกรก ๒ : [กฺรอกแกฺรก] (โบ) น. การเ่นพนันชนิดหนึ่ง. (ราชกิจจา. . ๑).
  30. การันต์ : [การัน] น. ``ที่สุดอักษร'', ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกํากับไว้ เช่นตัว ''ต์'' ในคําว่า ``การันต์'', (ปาก) เรียกตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ เช่น ์ ว่า การันต์ ค์ ว่า ค การันต์.
  31. คชนาม : น. นามราหู, อักษรชื่อที่ขึ้นต้นด้วย ย ร ว.
  32. ทันตชะ : [ทันตะ-] (ไว) น. อักษรในภาษาบาีแะสันสกฤตที่มี เสียงเกิดจากฟัน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ต คือ ต ถ ท ธ น แะอักษร ส รวมทั้ง ฦ ฦๅ ในภาษาสันสกฤต. (ป.; ส. ทนฺตวฺย).
  33. นิตินัย : (กฎ) น. ความหมายตามกฎหมาย (. de jure), ต่างกับ พฤตินัย คือ ความหมายตามข้อเท็จจริง (. de facto).
  34. พฤตินัย : (กฎ) น. ความหมายตามข้อเท็จจริง (. de facto), ต่างกับ นิตินัย คือ ความหมายตามกฎหมาย (. de jure).
  35. มิสซา : น. พิธีกรรมในศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอิก เพื่อระึกถึง พระเยซูที่ทรงสั่งเสียสาวกขณะที่รับประทานอาหารมื้อสุดท้าย โดยสัญญาว่า เมื่อประกอบพิธีแบ่งขนมปังดังที่พระองค์กระทํา พระองค์จะเสด็จมาประทับร่วมด้วยทุกครั้ง. (. missa; อ. mass).
  36. ดรูป : ก. ตัดรูปสระบางรูปออกเมื่อมีตัวสะกด แต่คงออกเสียง สระอย่างเดิม เช่น ในคำว่า ง มี สระ โ-ะ ง สะกด ดรูปสระ โ-ะ เป็น ง.
  37. ปัจฉิมิขิต : [ปัดฉิม-] น. ''เขียนภายหัง'' คือหนังสือที่เขียนเพิ่ม เติมงท้ายเมื่อเซ็นชื่อแ้ว, ใช้อักษรย่อว่า ป..
  38. กำมะถัน : น. ธาตุสีเหือง ติดไฟง่าย กิ่นเหม็นฉุน ใช้ทํายา ทําดินปืน ฯฯ, สุพรรณถัน ก็ว่า; (วิทยา) ธาตุําดับที่ ๑๖ สัญักษณ์ S เป็นอโหะ ักษณะเป็นของแข็ง มีอัญรูปหายแบบ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทํากรดซัฟิวริก อุตสาหกรรมยาง ทําหัวไม้ขีดไฟ ดินปืน ดอกไม้เพิง แะ ยารักษาโรค, ยาประเภทซัฟาแะประเภทเพนิซิินก็มีธาตุกํามะถันเป็น องค์ประกอบด้วย. (อ. sulphur).
  39. ขับ ๑ : ก. ต้อนให้ไป, บังคับให้ไป, ไ่; ไ่ตาม; บังคับให้เคื่อนไปได้ เช่น ขับเกวียน ขับรถม้า, สามารถบังคับเครื่องยนต์ ให้ยานพาหนะเคื่อนที่ ไปได้ เช่น ขับรถ ขับเรือ; บังคับให้ออก เช่น ขับปัสสาวะ; ประชดอย่าง ้อ, พูด้อเพื่อสนุก.
  40. ควบแน่น : (เคมี) น. กระบวนการเปี่ยนแปงทางเคมีในักษณะซึ่งโมเกุของสาร ตั้งแต่ ๒ โมเกุขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเกุใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเกุของนํ้าหรือโมเกุของสารอื่นออกไป; (ความร้อน) กระบวนการเปี่ยนแปงทางกายภาพของไอเป็นของเหวโดยวิธีด อุณหภูมิง. (อ. condense).
  41. จักรราศี : น. อาณาเขตที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์, อาณาเขตโดย รอบดวงอาทิตย์ที่ดาวเคราะห์เดิน, วิถีโคจรประจําของดวงอาทิตย์ซึ่งดู เสมือนวนไปรอบท้องฟ้าได้๓๖๐ องศาใน ๑ ปี วงโคจรนี้แบ่งออกเป็น ๑๒ ส่วน หรือ ๑๒ ราศี แต่ะส่วนหรือแต่ะราศีมีช่วง ๓๐ องศา ได้แก่ ราศีเมษ ราศีพฤษภ ราศีเมถุน ราศีกรกฎ ราศีสิงห์ ราศีกันย์ ราศีตุหรือ ราศีดุ ราศีพฤศจิกหรือราศีพิจิก ราศีธนู ราศีมังกร ราศีกุมภ์ แะราศีมีน, วงโคจรของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ แะดาวเคราะห์ที่สมมุติขึ้นทาง โหราศาสตร์ประกอบด้วย ๑๒ ราศี. (ส.).
  42. จักรวา : [-วาน] น. ปริมณฑ; ประชุม, หมู่; เทือกเขาในนิยาย เป็นกําแพง ้อมรอบโกแะเป็นเขตกั้นแสงสว่างกับความมืด, บริเวณโดยรอบของ โก, ทั่วโก. (ส.; ป. จกฺกวา).
  43. จุ- : [จุนะ-] ว. เ็ก, น้อย, (มักใช้นําหน้าคําสมาส) เช่น จุศักราช จุพน. (ป. จุ).
  44. จูู่่ : ก. รี่เข้าไปตามทาง (ู่ ว่า ทาง), ถันเข้าไป; โดยปริยาย หมายความว่า ดูถูก.
  45. ับ : [ฉะหฺับ] (กอน) ก. สับ เช่น แ่น้าวฉับพ. (สมุทรโฆษ).
  46. แฉ : [ฉะแหฺะ] ก. แ่, เถือให้เป็นชิ้นบาง ๆ, เชือด, ชําแหะ ก็ใช้.
  47. ชิ้น ๑ : น. ก้อนหรือแผ่นเ็กที่ตัด แ่ แบ่ง แยก หรือ แตกออกจาก ส่วนใหญ่ เช่น ชิ้นปา ชิ้นเนื้อ ชิ้นกระเบื้อง, ักษณนาม เรียกสิ่งที่เป็นก้อนเป็นแผ่นเ็ก ๆ เช่นนั้น เช่น ผ้าชิ้นหนึ่ง เนื้อ ๒ ชิ้น.
  48. ดำเนียน : (แบบ) ก. ติเตียน. (ข. ฎํเนีย).
  49. ดุ, ดุ- : [ดุน, ดุนะ-] น. ตราชู, คันชั่ง, มาตราชั่งนํ้าหนักโบราณ เช่น ทองคําหนัก ๒๐ ชั่งเรียกว่า ดุหนึ่ง; ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, เช่น รายรับรายจ่าย เท่ากัน เรียกว่า งบประมาณสู่ดุ; ชื่อกุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีดุ เป็น ราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีตุ ก็ว่า. ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. (ป., ส.).
  50. ถุ-, ถุ : [ถุนะ-] (แบบ) ว. อ้วน, พี; หยาบ. (ป. ถู, ถุ; ส. สฺถู).
  51. [1-50] | 51-65

(0.0653 sec)