Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , , .

Royal Institute Thai-Thai Dict : , 4888 found, display 1-50
  1. : คําประกอบหน้าคําอื่นที่มาจากภาษาบาลีและันกฤต บ่งความว่า กอบด้วย, พร้อมด้วย, เช่น เทวก ว่า พร้อมด้วยเทวดา. (ป., .).
  2. : พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้น และตัวะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและันกฤตเป็นต้น เช่น วย าร วิตช์ ร ัมผั วิ.
  3. ถาปัตยเวท : [ะถาปัดตะยะเวด] น. วิชาการก่อร้าง เป็นาขาหนึ่งของ อุปเวท. (. ฺถาปตฺย + เวท). (ดู อุปเวท ประกอบ).
  4. รพะ : [ะระพะ] ว. เียงดัง, เอ็ดอึง. (ป.; . ศรว).
  5. รัวดี : [ะรัดะวะดี] น. เทวีองค์หนึ่งในลัทธิศักติของศานาฮินดู เป็นชายา ของพระพรหม ถือว่าเป็นเทวีแห่งศิลปวิทยา มีหลายชื่อ เช่น ภารตี พราหมี ารทา, ไทยใช้ว่า ุรัวดี ก็มี.(. ฺวตี).
  6. วัดิ, วัดิ์ ๑, วัดี ๑ : [ะหฺวัดดิ, ะหฺวัด, ะหฺวัดดี] น. ความดี, ความงาม, ความเจริญ รุ่งเรือง; ความปลอดภัย เช่น ขอให้เดินทางโดยวัดิภาพ ขอให้มี ความุขวัดิ์พิพัฒนมงคล ขอให้มีความุขวัดี ขอให้วัดี มีชัย. (. ฺวฺติ; ป. โตฺถิ).
  7. รก : [ะระก] ว. โซก, ซ่ก, โชก, เช่น แล้วมันก็เชือดเอาหัวใจนาง เลือดตก พลางรก แล่นฉวยฉกหาไปบอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
  8. วัดิมงคล : น. ิ่งที่ให้ความุข ความเจริญรุ่งเรือง เช่น ประดิษฐาน พระพุทธรูปไว้ในบ้านเพื่อวัดิมงคล.
  9. ตกะ : [ะตะ] น. หมวด ๑๐๐, จํานวนร้อย. (ป.).
  10. เต๊ก : [ะ] น. ชื่ออาหารคาวชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยเนื้อัน หรือปลาเป็นต้น หั่นชิ้นใหญ่ ๆ มักปรุงร แล้วนำไปย่างหรือทอด กินกับมันฝรั่งทอด บด หรือต้ม และผักบางชนิด ใ่เครื่องปรุงร ตามชอบ. (อ. steak).
  11. ถาปนียพยากรณ์ : [นียะ] น. การจําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยอาการนิ่ง.
  12. ถาปนียวาที : [นียะ] น. ผู้จําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยการนิ่ง.
  13. ถาปัตยเรขา : [ะถาปัดตะยะ] น. แบบร่างหรือต้นแบบการออกแบบก่อร้าง.
  14. ปอร์ : น. หน่วยขยายพันธุ์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่คล้ายเมล็ดพืชแต่ไม่มีเอ็มบริโอ เมื่อิ่งแวดล้อมเหมาะมจะเจริญเป็นต้นใหม่ได้. (อ. spore).
  15. รบับ : [ฺระ] (กลอน) น. ารบับ.
  16. วิญญาณกทรัพย์ : [ะวินยานะกะซับ, ะวินยานนะกะซับ] (กฎ; โบ) น. ิ่งที่มีวิญญาณ หรือชีวิตซึ่งนับเป็นทรัพย์ เช่น ทา ช้าง ม้า วัว ควาย, ตรงข้ามกับ อวิญญาณกทรัพย์, วิญญาณกทรัพย์ ก็ว่า.
  17. ตน, ตัน : [ะตน, ะ] (แบบ) น. เต้านม. (. ฺตน; ป. ถน).
  18. อุตริมนุธรรม : [มะนุดะทํา] น. คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการําเร็จฌาน ําเร็จมรรคผลเป็นต้น. (ป. อุตฺตริ + มนุ+ ธมฺม; . อุตฺตริ + มนุษฺย + ธรฺม).
  19. อุ่าห์, อุาหะ : [อุด] น. อุตาหะ. ก. อุต่าห์. (ป.; . อุตฺาห).
  20. กด ๑ : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ะกด ว่า แม่กด หรือ มาตรากด.
  21. มาตรา : [มาดตฺรา] น. หลักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก; แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับระ โดยไม่มีตัวะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หลักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวะกด อยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ ะกด จัดอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง ะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ ะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ ะกด จัดอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม ะกด จัดอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย ะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว ะกด จัดอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โดยมีเลขกํากับเรียงตามลําดับ; (ฉันทลักษณ์) ระยะเวลาการออกเียงระั้นยาว ระั้น ๑ มาตรา ระยาว ๒ มาตรา.
  22. แม่ : น. หญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คําที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูตน; คําที่ผู้ใหญ่เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความนิทนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า แม่นั่น แม่นี่; คําใช้นําหน้านามเพศหญิง แปลว่า ผู้เป็นหัวหน้า เช่น แม่บ้าน; ผู้หญิงที่กระทํากิจการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ค้าขาย เรียกว่า แม่ค้า ทําครัว เรียกว่า แม่ครัว; เรียกัตว์ตัวเมียที่มีลูก เช่น แม่ม้า แม่วัว; เรียกคน ผู้เป็นหัวหน้าหรือเป็นนายโดยไม่จํากัดว่าเป็นชายหรือหญิง เช่น แม่ทัพ แม่กอง; คํายกย่องเทวดาผู้หญิงบางพวก เช่น แม่คงคา แม่ธรณี แม่โพพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่กาลี; เรียกิ่งที่เป็นประธานของิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ; เรียกชิ้นใหญ่กว่าในจําพวกิ่งที่ําหรับกัน เช่น แม่กุญแจ คู่กับ ลูกกุญแจ; แม่นํ้า เช่น แม่ปิง แม่วัง; คําหรือพยางค์ที่มีแต่ระ ไม่มีตัวะกด เรียกว่า แม่ ก กา, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ ะกด เรียกว่า แม่กก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ง ะกด เรียกว่า แม่กง, คําหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ะกด เรียกว่า แม่กด, คําหรือพยางค์ ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ ะกด เรียกว่า แม่กน, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ม ะกด เรียกว่า แม่กม, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ย ะกด เรียกว่า แม่เกย แต่ในมูลบทบรรพกิจมี ย ว อ ะกด, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ว ะกด เรียกว่า แม่เกอว.
  23. เศษวรรค : [เะวัก, เดวัก] น. พยัญชนะที่เหลือวรรคหรือที่ เข้าอยู่ในวรรคทั้ง ๕ ไม่ได้ มี ๑๐ ตัว คือ ย ร ล ว ศ ษ ห ฬ ?, อวรรค ก็เรียก.
  24. อโฆษะ : ว. ไม่ก้อง, เียงระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเ้นเียง ไม่ั่น ในภาษาไทยได้แก่เียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะะกด และเียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เียงระ ในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและ ันกฤตที่มีเียงไม่ก้องว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ . (.; ป. อโฆ).
  25. อักษรูง : [อักอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเียงเป็นเียงจัตวา ผันได้ ๓ เียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเียงเอก ผันด้วย วรรณยุกต์ ? เป็นเียงโท เช่น ขา ข่า ข้า คําตายพื้นเียงเป็นเียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเียงโท เช่น ขะ ข้ะ มี ๑๑ ตัว คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ห.
  26. อุุม : น. ไอ, ไออุ่น; ความร้อน; ฤดูร้อน, แผลงใช้เป็น อรุม ก็มี เช่น อรุมพล = กําลังไอนํ้า; ในไวยากรณ์เรียกเียงพยัญชนะที่มี ลมเียดแทรกออกมาระหว่างลิ้นกับฟัน ว่า มีเียงอุุม ได้แก่ เียง ศ ษ . '' (ป.; . อุษฺมนฺ).
  27. อับปอร์ : น. โครงร้างที่มีลักษณะคล้ายถุง ห่อหุ้มปอร์ เป็นที่เกิดของปอร์.
  28. เอกังพยากรณ์ : [ะพะยากอน] น. ''การพยากรณ์โดย่วนเดียว'' หมายถึง การ พยากรณ์เด็ดขาดเพียงถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้ เช่น พราหมณ์ โกณฑัญญะพยากรณ์ิทธัตถราชกุมารว่าจะต้องออกบวชและ ตรัรู้เป็นศาดาเอกของโลกอย่างแน่นอน จัดเป็น เอกังพยากรณ์, การตอบปัญหาที่ผู้ถามถามอย่างชัดเจนามารถตอบได้อย่าง แจ่มแจ้งทันที.
  29. นักราช : [นักะราด] น. ตําแหน่งคนถือธงท้ายเรือพระที่นั่งพาย. (วชิรญาณ).
  30. ปิตุจฉา : [-ตุด-] น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป.).
  31. ผุราคา : [ผุดะ] น. บุษปราค.
  32. มฤคศิรั : น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฤคศิระ มี ๓ ดวง, ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคเศียร ดาวมิคิระ หรือ ดาวอาครหายณี ก็เรียก.
  33. รังรัง : ัง] ก. ตั้งหน้าวิ่ง, ออกวิ่ง.
  34. : พยัญชนะตัวที่ ๓๘ เป็นพวกอักษรูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้น และเป็นตัวะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาันกฤตและภาษา อื่น เช่น ศาลา อากาศไอศกรีม วงศ์.
  35. : พยัญชนะตัวที่ ๓๙ เป็นพวกอักษรูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้น และตัวะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาันกฤต เช่น ษมา เศรษฐี และคําว่า อังกฤษ.
  36. รุป, รูป : [ะหฺรุบ, ะหฺรูบ] ก. ย่อเอาเฉพาะใจความำคัญของเรื่องเป็น ประเด็น ๆ ไป เช่น รุปข่าว รุปถานการณ์, โบราณใช้ว่า รวป ก็มี. น. ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง เช่น กล่าวโดยรุป.
  37. อานาปานัติ : [นัดะติ] น. ติที่กําหนดลมหายใจเข้าและ ลมหายใจออก.
  38. อานาปานัติ : ดู อานาปาน, อานาปานะ.
  39. กมลาศ : [กะมะลาด] (กลอน) น. บัว; ใจ. (ป., . กมล + ศ เข้าลิลิต).
  40. กมเลศ : [กะมะเลด] (กลอน) น. บัว; ใจ; พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์ มเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นุทธาวาบวรวิมาน. (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์). (ป., . กมล + ศ เข้าลิลิต; ใน ันกฤตหมายความว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งพระลักษมี คือ พระนารายณ์ มาจาก กมลา = พระลักษมี + อีศ = เป็นใหญ่).
  41. กระผม : . คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๑.
  42. กันและกัน : . คําใช้แทนชื่อในลักษณะที่มีการกระทําร่วมกัน หรือต่อกันโดยมีบุรพบทประกอบหน้า เช่น รักซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของกันและกัน.
  43. กู : . คําใช้แทนตัวผู้พูด ในปัจจุบันมักถือกันว่าไมุ่ภาพ, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๑.
  44. เกล้ากระผม : . คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมาก หรือกับพระงฆ์ผู้ทรงมณศักดิ์, พูดั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๑.
  45. เกล้ากระหม่อม : . คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย เพ็ดทูลพระอนุวงศ์ ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม, พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และมเด็จพระังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๑.
  46. แก ๒ : . คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยซึ่งเป็นผู้ที่นิทนม หรือผู้น้อย, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๒; (ปาก) คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๓.
  47. ข้า ๒ : . คําใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่ พูดกับผู้น้อย, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๑.
  48. เจ้า ๒ : . คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ําหรับผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อยอย่างุภาพหรือ เอ็นดู, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น เจ้ามานี่, คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๓, มักใช้เข้าคู่กับคํา นั่น เป็น เจ้านั่น เช่น เจ้านั่น จะไปด้วยหรือเปล่า.
  49. เจ้าพระคุณ : . คำที่ภิกษุามเณรหรือคฤหัถ์ใช้เรียกมเด็จพระราชาคณะ, ใช้เต็มว่า ท่านเจ้าพระคุณมเด็จฯ, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๒, ใช้ว่า เจ้าประคุณ ก็มี.
  50. เจ้าหล่อน : . คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๒, คํา ใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นรรพนามบุรุษที่ ๓, บางทีผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อย ในบุรุษที่ ๓.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4888

(0.1838 sec)