Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เพริศพริ้ง, เพริศ, พริ้ง , then พรง, พริ้ง, เพริศ, เพริศพริ้ง .

Royal Institute Thai-Thai Dict : เพริศพริ้ง, 24 found, display 1-24
  1. เพริศพริ้ง : ว. งามเฉิดฉาย, พริ้งเพริศ ก็ว่า.
  2. พริ้งเพริศ : ว. งามเฉิดฉาย, เพริศพริ้ง ก็ว่า.
  3. พริ้ง : [พฺริ้ง] ว. งามงอน, สะสวยมาก, ชอบแต่งตัวให้งดงามและทันสมัย อยู่เสมอ, เช่น สวยพริ้ง แต่งตัวงามพริ้ง.
  4. เพริศ : [เพฺริด] ว. งาม, ดียิ่ง.
  5. เฉิดฉัน, เฉิดฉิน : (กลอน) ว. งาม, เพริศพริ้ง.
  6. ฟ้อ ๒, ฟ้อแฟ้ : ว. เพริศพริ้ง, กระชุ่มกระชวย, สดชื่น, เช่น หนุ่มฟ้อ ยังฟ้ออยู่.
  7. พริ้งเพรา : ว. สวยงาม, เพราพริ้ง หรือ เพราเพริศ ก็ว่า.
  8. พริ้งพราย : ว. งามลออ.
  9. เพริศพราย, เพริศแพร้ว : ว. งามระยับ.
  10. เพรา ๒ : [เพฺรา] ว. งาม, น่าดู. เพราพริ้ง, เพราเพริศ ว. สวยงาม, พริ้งเพรา ก็ว่า.
  11. เยีย ๔ : ว. งามยิ่ง, งามเพริศพริ้ง, เยียรยง.
  12. เยียรยง : [เยียระยง] (กลอน) ว. งามยิ่ง, งามเพริศพริ้ง, ใช้ว่า เยีย ก็มี.
  13. เกราะ ๔ : [เกฺราะ] ก. พูดเลียบเคียง เช่น อย่าคําเพราะเกราะกล่าวเจรจา. (รามเกียรติ์ ร. ๑), ใช้ว่า เกลาะ ก็มี เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะ ให้เพราะพริ้ง. (อิเหนา).
  14. เกลาะ : [เกฺลาะ] ก. พูดเลียบเคียง เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง. (อิเหนา), ใช้ว่า เกราะ ก็มี เช่น อย่าคําเพราะเกราะกล่าวเจรจา. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
  15. เฉลา : [ฉะเหฺลา] ว. สวย, งาม, เกลี้ยงเกลา, เพราพริ้ง.
  16. นุ่มนวล : ว. อ่อนหวาน, อ่อนโยน, ละมุนละไม, เพราะพริ้ง, เช่น พูดจา นุ่มนวล กิริยาท่าทางนุ่มนวล.
  17. วาม ๑, วาม ๆ : ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงามว่าหญ้า ตาทรายยิ่งนิลวาม พรายเพริศ ลิงว่าผลลูกหว้า โดดดิ้นโดยตาม. (โลกนิติ).
  18. ออนซอน, อ่อนซอน : (ถิ่นพายัพ, อีสาน) ว. งาม; เพราะพริ้ง, ซาบซึ้งตรึงใจ. (เพี้ยนมาจาก อรชร).
  19. พรั่ง : [พฺรั่ง] ว. คับคั่ง, รวมกันอยู่มาก.
  20. แพร่ง : [แพฺร่ง] น. ทางแยกทางบก. ก. แตกออก, แยกออก.
  21. พรุ่ง, พรุ่งนี้ : น. วันถัดจากวันนี้ไปวันหนึ่ง.
  22. เพรง : [เพฺรง] ว. ก่อน, เก่า, เช่น แต่เพรงกาล.
  23. โพรง : [โพฺรง] น. ช่องที่กลวงเข้าไป เช่น โพรงไม้ โพรงจมูก.
  24. สงสัย : ก. ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก; ทราบไม่ได้ แน่ชัด, เคลือบแคลง, เช่น สงสัยว่าคำตอบข้อไหนถูก สงสัยว่าเขาจะเป็น ขโมย; เอาแน่ไม่ได้ เช่น สงสัยว่าเขาจะมาหรือไม่มา. (ป. สํสย; ส. สํศย).
  25. [1-24]

(0.1097 sec)