ภาษาศาสตร์ :
(N) ;
linguistics ;
Related:philology ;
Def:วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่างๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ;
Samp:พื้นฐานของการวิจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ภาษาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
นักภาษาศาสตร์ :
(N) ;
linguist ;
Def:ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ ;
Samp:อาจารย์พิณทิพย์ ทวยเจริญเป็นนักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ;
Unit:คน
มนุษยศาสตร์ : (N) ; humanities ; Def:วิชาว่าด้วยคุณค่าทางจิตใจและงานของคน มีศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ศาสนา และปรัชญา ; Samp:วิชาปรัชญาเป็นวิชาแขนงหนึ่งในมนุษยศาสตร์
แขนง :
(N) ;
field ;
Related:department ;
Syn:สาขา ;
Def:ส่วนย่อยที่แยกออกจากส่วนใหญ่ ;
Samp:วิชาสัทศาสตร์เป็นแขนงหนึ่งของภาษาศาสตร์
ค่า :
(N) ;
value ;
Related:worth, advantage ;
Syn:คุณค่า, ประโยชน์ ;
Def:คุณประโยชน์ในตัวของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งคิดเป็นเงินไม่ได้ ;
Samp:นักภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีก็ให้ความรู้ที่มีค่าแก่นักภาษาศาตร์คอมพิวเตอร์อย่างมากมาย แต่บางครั้งก็ถูกมองข้ามความสำคัญไป
เจ้าของภาษา :
(N) ;
native speaker ;
Def:คนที่พูดภาษาใดภาษาหนึ่งตั้งแต่เกิดเรียกว่าคนนั้นเป็นเจ้าของภาษา ;
Samp:นักภาษาศาสตร์ที่ศึกษาภาษาทั่วไปจะได้ข้อมูลส่วนใหญ่จากการซักถามเจ้าของภาษา
ตลาดแรงงาน :
(N) ;
labor market ;
Samp:ภาควิชาภาษาศาสตร์เริ่มค้นพบว่าสาขาวิชานี้ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ;
Unit:แห่ง
ถ่ายเสียง :
(V) ;
transcribe ;
Related:record ;
Syn:ถ่ายถอดเสียง ;
Samp:นักภาษาศาสตร์ถ่ายเสียงภาษาถิ่นเป็นสัทอักษร
ทฤษฎี :
(N) ;
theory ;
Related:hypothesis, supposition, doctrine, teachings ;
Syn:แนวความคิด ;
Def:ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ ;
Samp:รูปแบบโครงร่างของทฤษฎีทางภาษาศาสตร์จะเป็นอย่างไรนั้น จะต้องทดสอบกันอีกมาก ;
Unit:ทฤษฎี
ปริญญาโท : (N) ; master's degree ; Related:master's ; Samp:งานวิจัยส่วนใหญ่ทางภาษาศาสตร์เป็นผลงานของนิสิตระดับปริญญาโท
ผู้วิจัย :
(N) ;
researcher ;
Syn:นักวิจัย ;
Def:บุคคลที่ทำการศึกษา ค้นคว้าทดลองในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ;
Samp:ในการศึกษาวิจัยทางภาษาศาสตร์ ผู้วิจัยจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ด้วย
ภาษาติดต่อคำ : (N) ; agglutinative language ; Syn:ภาษาคำติดต่อ ; Samp:วิชาภาษาศาสตร์แบ่งรูปภาษาต่างๆ เป็น 4 ประเภท คือ ภาษามีวิภัตติปัจจัย, ภาษาติดต่อคำ, ภาษาคำโดด และภาษาควบมากคำ
ภาษามนุษย์ :
(N) ;
human language ;
Syn:ภาษา ;
Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ;
Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
มัธยมศึกษา :
(N) ;
secondary education ;
Related:high school education ;
Syn:ม., มัธยม ;
Def:การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา ;
Samp:พ่อสำเร็จมัธยมศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ค่อยสันทัด
รายวิชา :
(N) ;
course ;
Def:หน่วยวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งภาคการศึกษา มีทั้งที่บังคับและให้เลือก ;
Samp:รายวิชาภาษาศาสตร์บริสุทธิ์ค่อนข้างจะเป็นทฤษฎี และเป็นรายวิชาที่มุ่งปูพื้นฐานสำหรับการทำงานวิจัยต่อไป ;
Unit:รายวิชา