Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เพี้ยน .

Thai-Eng Lexitron Dict : เพี้ยน, 20 found, display 1-20
  1. เพี้ยน : (V) ; be crazy ; Related:be mad, be insane, be out of one's mind, be nuts, be unbalanced, be crazed, be demented ; Syn:บ้า, สติไม่ดี, ฟั่นเฟือน ; Def:มีสติไม่ดีทำอะไรผิดแปลกไปจากคนธรรมดา ; Samp:เขาต้องเพี้ยนไปแล้วแน่ๆ ที่จะลาออกจากงานนี้
  2. เพี้ยน : (ADV) ; with a slight difference ; Related:very slightly ; Syn:แปร่ง, เหน่อ ; Def:อย่างผิดแปลกหรือคลาดเคลื่อนไปเล็กน้อย ; Samp:แม้พูดภาษาเดียวกันก็ยังพูดเพี้ยนออกไปตามท้องถิ่นอยู่ดี
  3. เพี้ยน : (ADV) ; with a slight difference ; Related:very slightly ; Syn:แปร่ง, เหน่อ ; Def:อย่างผิดแปลกหรือคลาดเคลื่อนไปเล็กน้อย ; Samp:แม้พูดภาษาเดียวกันก็ยังพูดเพี้ยนออกไปตามท้องถิ่นอยู่ดี
  4. เพี้ยน : (ADJ) ; odd ; Related:weird, strange, queer, eccentric, bizarre, uncommon ; Syn:แปลก, บ้า ; Def:ที่ผิดแปลกไปจากปกติธรรมดา ; Samp:เธอเอาความคิดแสนเพี้ยนนี้มาจากไหน
  5. เพี้ยน : (V) ; slightly distort ; Syn:แปลก, ผิดแปลก ; Def:ผิดแปลกไปจากปกติธรรมดาเล็กน้อย ; Samp:สีของจอภาพมันเพี้ยนไปนิดนึง อาจแก้ไขได้
  6. แปร่ง : (ADJ) ; discordant ; Related:out of tune ; Syn:เพี้ยน, ไม่ชัด, แปร่งๆ ; Def:ที่มีสำเนียงผิดเพี้ยนไปเล็กน้อยจากที่พูดกันเป็นปกติในหมู่คณะ ; Samp:คนไทยบางคนเห็นว่าฝรั่งที่พูดไทยด้วยเสียงที่แปร่งมีความน่าเอ็นดู
  7. แปร่งหู : (ADJ) ; discordant ; Related:jar on the ears, different from usual, not quite right, out of tune ; Syn:เพี้ยน, ไม่ชัด, แปร่ง, แปร่งๆ ; Def:ที่มีสำเนียงผิดเพี้ยนไปเล็กน้อยจากที่พูดกันเป็นปกติ ; Samp:เขาอ่านจดหมายด้วยน้ำเสียงที่แปร่งหู
  8. แปร่งหู : (V) ; speak with a strange accent ; Related:jar on the ears, different from usual, not quite right, out of tune ; Syn:เพี้ยน, ไม่ชัด, แปร่ง, แปร่งๆ ; Def:มีสำเนียงผิดเพี้ยนไปเล็กน้อยจากที่พูดกันเป็นปกติ ; Samp:แม้เสียงของเขาจะแปร่งหู แต่ก็ดูมีเอกลักษณ์ดี
  9. แปลกประหลาด : (ADJ) ; strange ; Related:odd, uncommon, queer, weird, peculiar ; Syn:พิศดาร, เพี้ยน, พิลึก, ผิดปกติ ; Ant:ธรรมดา, ปกติ ; Def:ที่ผิดปกติหรือมิได้คิดคาดหมายว่าจะเป็นไปได้ ; Samp:คนบ้านนี้มีรสนิยมแปลกประหลาดไม่เหมือนชาวบ้านเขา
  10. ตู่ตัว : (V) ; mistake ; Related:drop words, misread ; Syn:เพี้ยนตัว ; Def:อ่านหนังสือไม่ตรงตัว เพี้ยนตัว ; Samp:เพราะคงจำกันไม่ได้ว่าใครเป็นใคร จึงตู่ตัวตู่ตนสับสนกันไปหมด
  11. เจ้าประคู้น : (INT) ; my god ; Related:exclamation of solicitation, prayer, to make a wish or curse ; Def:เพี้ยนมาจาก เจ้าประคุณ เป็นคำอุทาน ในการอ้อนวอน อธิษฐาน บนบาน สาปแช่ง เป็นต้น ; Samp:เจ้าประคู้น เกิดชาติหน้าฉันใดขอให้ข้าพเจ้ามั่งมีศรีสุขด้วยเทอญ
  12. ล่ะ : (END) ; particle used at the end of a question, command or entreaty ; Syn:เล่า ; Def:เพี้ยนเสียงมาจาก เล่า ; Samp:หญิงสาวคนไหนเมื่อตกลงปลงใจแต่งงานกับชายหนุ่มคนใดแล้วอยากจะหย่าบ้างล่ะ
  13. แปร่ง : (V) ; in a strange voice ; Related:in an off-tone ; Def:มีสำเนียงผิดเพี้ยนไปเล็กน้อยจากที่พูดกันเป็นปกติในหมู่คณะ ; Samp:เสียงของเขาแปร่งไปมากหลังจากทำการผ่าตัดเส้นเสียงมา
  14. แผลง : (V) ; change ; Related:transfer, adapt, corrupt, alter, modify ; Syn:แก้ไข, ดัดแปลง, ปรับ ; Def:แปลงสิ่งเดิมให้เพี้ยนแปลกไป ; Samp:เขาลุแก่โทสะถึงกับตั้งชื่อเด็กด้วยความเกลียดชังว่าไอ้จันซึ่งแผลงมาจากจัญไร
  15. ไม่ชัด : (ADV) ; ambiguously ; Related:vaguely, not clearly, indistinctly ; Syn:ไม่ชัดเจน ; Def:ออกเสียงไม่ตรงตามเสียงนั้นเพราะเพี้ยนไป ; Samp:คนไทยบางคนพูดไทยไม่ชัดไม่รู้ว่าจงใจให้เหมือนฝรั่งหรือเปล่า
  16. ยมนา : (N) ; Great river ; Related:the Jumna river which flows into the Ganges at Allahabad ; Def:แม่น้ำใหญ่, เป็นชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในอินเดีย คือ แม่น้ำยมุนา ซึ่งเรียกเพี้ยนเป็น ชุมนา ก็มี
  17. โยน 2 : (N) ; Ionian ; Related:Ionian Greece, Greek ; Syn:โยนก ; Def:ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia
  18. เหน่อ : (ADV) ; with a rural accent ; Related:with a provincial accent ; Def:เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน ; Samp:คนสุพรรณมักพูดเหน่อเป็นเอกลักษณ์อยู่แล้ว
  19. ในทำนองเดียวกับ : (ADV) ; in the same way ; Related:like, as ; Syn:ในทำนองเดียวกันกับ ; Samp:เขาดำเนินชีวิตในทำนองเดียวกับคุณพ่อของเขาไม่มีผิดเพี้ยน
  20. ผู้บอกภาษา : (N) ; informant ; Def:ผู้ที่ให้ข้อมูลด้านภาษา ; Samp:ในการเก็บข้อมูลภาษาถิ่น ผู้วิจัยต้องคัดเลือกผู้บอกภาษาที่มีอวัยวะในการออกเสียงครบถ้วน เพราะมิฉะนั้นอาจจะทำให้ได้ยินเสียงผิดเพี้ยนไปได้

(0.0438 sec)